หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนด้วยมือขั้นสูง

สาขาวิชาชีพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ GEM-ZZZ-6-025ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนด้วยมือขั้นสูง

3. ทบทวนครั้งที่ N/A / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพนักออกแบบเครื่องประดับอัญมณีและโลหะมีค่า



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆที่มีความซับซ้อน  การออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามความต้องการของตลาดและการออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนรูปแบบใหม่

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มวิชาชีพอัญมณีและเครื่องประดับ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
110051 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆที่มีความซับซ้อน 1. วาดรูปทรงเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนที่มีความซับซ้อนได้ 110051.01 134986
110051 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆที่มีความซับซ้อน 2. วาดรูปทรงของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนที่มีความซับซ้อนเข้าชุดกัน 110051.02 134987
110051 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆที่มีความซับซ้อน 3. วาดรูปเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนที่มีกลไกซับซ้อนได้ 110051.03 134988
110052 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามความต้องการของตลาด 1. วิเคราะห์แนวโน้มการตลาดเครื่องประดับและโลหะมีค่าล้วน 110052.01 134989
110052 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามความต้องการของตลาด 2. วาดแบบเครื่องประดับมีค่าล้วนตามความต้องการของตลาด 110052.02 134990

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

    1.ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆที่มีความซับซ้อน

        0.1 1. วาดรูปทรงเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนที่มีความซับซ้อนได้

        0.2 2. วาดรูปทรงของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนที่มีความซับซ้อนเข้าชุดกัน

        0.3 3. วาดรูปเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนที่มีกลไกซับซ้อนได้

    1.ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามความต้องการของตลาด

        0.4 1. วิเคราะห์แนวโน้มการตลาดเครื่องประดับและโลหะมีค่าล้วน

        0.5 2. วาดแบบเครื่องประดับมีค่าล้วนตามความต้องการของตลาด

(ข) ความต้องการด้านความรู้

สมรรถนะย่อย (EoC)



110051 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆที่มีความซับซ้อน



110052 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามความต้องการของตลาด



110053 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนรูปแบบใหม่



เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (PC)



1. วาดรูปทรงเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนที่มีความซับซ้อนได้



2. วาดรูปทรงของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนที่มีความซับซ้อนเข้าชุดกัน



3. วาดรูปเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนที่มีกลไกซับซ้อนได้



1. วิเคราะห์แนวโน้มการตลาดเครื่องประดับและโลหะมีค่าล้วน



2. วาดแบบเครื่องประดับมีค่าล้วนตามความต้องการของตลาด



1. ประยุกต์ใช้วัสดุใหม่ในการออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



2.ประยุกต์ใช้เทคนิคใหม่ในการออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



ความรู้ที่ต้องการ (Knowledge)



K1.1ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิตเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



K1.2 ความรู้เกี่ยวกับหลักการออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนที่มีความซับซ้อน



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับหลักการออกแบบเครื่องประดับเข้าชุดกัน



K3.1 ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคในการผลิตและกลไกของเครื่องประดับ



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับแนวโน้มการตลาดเครื่องประดับและโลหะมีค่าล้วน



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับรูปแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนความต้องการของตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับวัสดุใหม่ที่สามารถใช้ในการผลิตเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคใหม่ที่ใช้ในการผลิตเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



ES1.1-1 วาดรูปทรงเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนที่มีความซับซ้อน



ES2.1-2วาดรูปทรงของเครื่องประดับล้วนเข้าชุดกัน



ES3.1-3 วาดรูปกลไกของเครื่องประดับโลหะมีค่าที่มีความซับซ้อน



ES1.1-4 วิเคราะห์แนวโน้มความต้องการของตลาดเครื่องประดับและโลหะมีค่าล้วนทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ



ES2.1-5 วาดแบบเครื่องประดับมีค่าล้วนตามความต้องการของตลาด



ES1.1-6 ประยุกต์ใช้วัสดุใหม่ในการออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



ES2.1-7 ประยุกต์ใช้เทคนิคใหม่ในการออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



EK1.1-1 อธิบายกระบวนการผลิตเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



EK1.2-2 อธิบายหลักการออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนที่มีความซับซ้อน



EK2.1-3 อธิบายหลักการออกแบบเครื่องประดับเข้าชุดกัน



EK3.1-4 อธิบายเกี่ยวกับเทคนิคในการผลิตและกลไกของเครื่องประดับ



EK1.1-5 อธิบายแนวโน้มการตลาดเครื่องประดับและโลหะมีค่าล้วน



EK1.1-6 อธิบายเกี่ยวกับรูปแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนความต้องการของตลาดภายในประเทศและต่างประเทศ



EK1.1-7 อธิบายเกี่ยวกับวัสดุใหม่ที่สามารถใช้ในการผลิตเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



EK1.2-8 อธิบายเกี่ยวกับเทคนิคใหม่ที่ใช้ในการผลิตเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



ประเมินเกี่ยวกับสมรรถนะวิชาชีพในแต่ละหน่วยสมรรถนะ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้



(ง) วิธีการประเมิน



1. พิจารณาหลักฐานความรู้



เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียนหรือผลการทดสอบความรู้ตามวัตถุประสงค์



2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน



2.1 เอกสารรับรองการปฏิบัติงานหรือผลการประเมินการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ



2.2 เอกสารการประเมินตามวัตถุประสงค์ด้านทักษะ



 


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่น ๆ หรือสถานการณ์อื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง



 (ก) คำแนะนำ



การออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนด้วยมือขั้นสูงผู้เข้ารับการประเมินจะต้องแสดงเกี่ยวกับการออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆที่มีความซับซ้อนการออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามความต้องการของตลาดและออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนรูปแบบใหม่



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



1. ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆที่มีความซับซ้อนโดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในวาดแบบเครื่องประดับที่มีความซับซ้อนได้ วาดรูปทรงของเครื่องประดับล้วนเข้าชุดกัน เช่น  สร้อยคอ,แหวน,ต่างหู,สร้อยข้อมือ,กำไลข้อมือ ฯลฯ รู้เทคนิคในการผลิตและกลไกของเครื่องประดับ รวมทั้งสามารถวาดรูปกลไกของเครื่องประดับโลหะมีค่าที่มีความซับซ้อนได้ เช่น แหวนกล ฯลฯ



2. ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามความต้องการของตลาดโดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการวิเคราะห์แนวโน้มการตลาดเครื่องประดับและโลหะมีค่าล้วน เช่น ทอง เงิน ฯลฯ โดยต้องเข้าใจความต้องการรูปแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนภายในประเทศและต่างประเทศ นอกจากนั้นจะต้องสามารถวาดแบบเครื่องประดับมีค่าล้วนตามความต้องการของตลาดได้



3. ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนรูปแบบใหม่โดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับเทรนด์เครื่องประดับ และมีสมรรถนะในการนำข้อมูลของเทรนด์ (Trend) เครื่องประดับมาใช้การออกแบบ  นอกจากนั้นยังสามารถประยุกต์ผสมผสานวัสดุและเทคนิคใหม่ๆในการผลิตเครื่องประดับ เพื่อให้เกิดเป็นเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนในรูปแบบใหม่ได้


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A 

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A 

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



            2. แบบประเมินผลจากการสาธิตการปฏิบัติงาน



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



      18.2 เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



            2. แบบประเมินผลจากการสาธิตการปฏิบัติงาน



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



      18.3 เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



            2. แบบประเมินผลจากการสาธิตการปฏิบัติงาน



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



 



 



 



 



ยินดีต้อนรับ