หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนด้วยมือขั้นกลาง

สาขาวิชาชีพอัญมณี เครื่องประดับ และโลหะมีค่า


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ GEM-ZZZ-5-016ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนด้วยมือขั้นกลาง

3. ทบทวนครั้งที่ N/A / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพนักออกแบบเครื่องประดับอัญมณีและโลหะมีค่า



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการกำหนดประเภทของเครื่องประดับมีค่าล้วน  การวาดส่วนประกอบของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน การออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆ การเขียนแบบกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบ และวาดภาพสีเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มวิชาชีพอัญมณีและเครื่องประดับ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
110031 กำหนดประเภทของเครื่องประดับมีค่าล้วน 1. เลือกประเภทของโลหะมีค่าที่ใช้ในการออกแบบ 110031.01 134953
110031 กำหนดประเภทของเครื่องประดับมีค่าล้วน 2. กำหนดพื้นผิวของโลหะมีค่าเพื่อการออกแบบเครื่องประดับ 110031.02 134954
110031 กำหนดประเภทของเครื่องประดับมีค่าล้วน 3. กำหนดรูปทรงของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน 110031.03 134955
110031 กำหนดประเภทของเครื่องประดับมีค่าล้วน 4. ประเมินน้ำหนักโลหะมีค่าที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ 110031.04 134956
110032 วาดส่วนประกอบของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน 1. วาดข้อต่อของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนรูปแบบต่างๆได้ 110032.01 134957
110032 วาดส่วนประกอบของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน 2. วาดตัวล็อกของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนรูปแบบต่างๆได้ 110032.02 134958
110033 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆ 1. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของแหวนโลหะมีค่าล้วนได้ 110033.01 134959
110033 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆ 2. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของต่างหูโลหะมีค่าล้วนได้ 110033.02 134960
110033 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆ 3. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของจี้โลหะมีค่าล้วนได้ 110033.03 134961
110033 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆ 4. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของกำไลและสร้อยข้อมือโลหะมีค่าล้วนได้ 110033.04 134962
110033 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆ 5. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของสร้อยคอโลหะมีค่าล้วนได้ 110033.05 134963
110034 เขียนแบบกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบ 1. ใช้เส้นกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบได้อย่างถูกต้อง 110034.01 134964
110034 เขียนแบบกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบ 2. ใช้ลูกศรในการกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนได้อย่างถูกต้อง 110034.02 134965
110034 เขียนแบบกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบ 3. ใช้ตัวเลขและตัวอักษรกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามมาตรฐานหลักการเขียนแบบได้อย่างถูกต้อง 110034.03 134966
110034 เขียนแบบกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบ 4. ใช้สัญลักษณ์ในการเขียนแบบทางเทคนิคบอกให้ทราบลักษณะของชิ้นงานเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนได้ 110034.04 134967
110035 วาดภาพสีเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน 1. เลือกใช้สีและอุปกรณ์ในการวาดภาพเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนได้อย่างเหมาะสม 110035.01 134968
110035 วาดภาพสีเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน 2. ระบายสีและแสงเงาของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน 110035.02 134969

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

    1.กำหนดประเภทของเครื่องประดับมีค่าล้วน

        0.1 1. เลือกประเภทของโลหะมีค่าที่ใช้ในการออกแบบ

        0.2 2. กำหนดพื้นผิวของโลหะมีค่าเพื่อการออกแบบเครื่องประดับ

        0.3 3. กำหนดรูปทรงของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน

        0.4 4. ประเมินน้ำหนักโลหะมีค่าที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ

    1.วาดส่วนประกอบของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน

        0.5 1. วาดข้อต่อของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนรูปแบบต่างๆได้

        0.6 2. วาดตัวล็อกของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนรูปแบบต่างๆได้

    1.ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆ

        0.7 1. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของแหวนโลหะมีค่าล้วนได้

        0.8 2. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของต่างหูโลหะมีค่าล้วนได้

        0.9 3. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของจี้โลหะมีค่าล้วนได้

        0.10 4. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของกำไลและสร้อยข้อมือโลหะมีค่าล้วนได้

        0.11 5. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของสร้อยคอโลหะมีค่าล้วนได้

    1.เขียนแบบกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบ

        0.12 1. ใช้เส้นกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบได้อย่างถูกต้อง

        0.13 2. ใช้ลูกศรในการกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนได้อย่างถูกต้อง

        0.14 3. ใช้ตัวเลขและตัวอักษรกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามมาตรฐานหลักการเขียนแบบได้อย่างถูกต้อง

        0.15 4. ใช้สัญลักษณ์ในการเขียนแบบทางเทคนิคบอกให้ทราบลักษณะของชิ้นงานเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนได้

    1.วาดภาพสีเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน

        0.16 1. เลือกใช้สีและอุปกรณ์ในการวาดภาพเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนได้อย่างเหมาะสม

        0.17 2. ระบายสีและแสงเงาของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน

(ข) ความต้องการด้านความรู้

สมรรถนะย่อย (EoC)



110031 กำหนดประเภทของเครื่องประดับมีค่าล้วน



110032 วาดส่วนประกอบของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



110033 ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆ



110034 เขียนแบบกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบ



110035 วาดภาพสีเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (PC)



1. เลือกประเภทของโลหะมีค่าที่ใช้ในการออกแบบ



2. กำหนดพื้นผิวของโลหะมีค่าเพื่อการออกแบบเครื่องประดับ



3. กำหนดรูปทรงของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



4. ประเมินน้ำหนักโลหะมีค่าที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ



1. วาดข้อต่อของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนรูปแบบต่างๆได้



2. วาดตัวล็อกของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนรูปแบบต่างๆได้



1.วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของแหวนโลหะมีค่าล้วนได้



2. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของต่างหูโลหะมีค่าล้วนได้



3. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของจี้โลหะมีค่าล้วนได้



4. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของกำไลและสร้อยข้อมือโลหะมีค่าล้วนได้



5. วาดรูปทรงและส่วนประกอบต่างๆของสร้อยคอโลหะมีค่าล้วนได้



1.ใช้เส้นกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบได้อย่างถูกต้อง



2. ใช้ลูกศรในการกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนได้อย่างถูกต้อง



3. ใช้ตัวเลขและตัวอักษรกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามมาตรฐานหลักการเขียนแบบได้อย่างถูกต้อง



4. ใช้สัญลักษณ์ในการเขียนแบบทางเทคนิคบอกให้ทราบลักษณะของชิ้นงานเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนได้



1. เลือกใช้สีและอุปกรณ์ในการวาดภาพเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนได้อย่างเหมาะสม



2. ระบายสีและแสงเงาของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



ความรู้ที่ต้องการ (Knowledge)



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับประเภทและคุณสมบัติของโลหะมีค่า



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับลักษณะพื้นผิวของโลหะมีค่าที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ



K3.1 ความรู้เกี่ยวกับลักษณะรูปทรงของเครื่องประดับโลหะมีค่ารูปแบบต่างๆ



K3.2 ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการผลิตเครื่องประดับ



K4.1 ความรู้เกี่ยวกับ วิธีการประเมินน้ำหนักโลหะมีค่า



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับกลไกของข้อต่อเครื่องประดับรูปแบบต่างๆ



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับกลไกของตัวล็อกเครื่องประดับรูปแบบต่างๆ



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการวาดรูปทรงแหวนโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



K1.2 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการวาดส่วนประกอบต่างๆของแหวนโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการวาดรูปทรงต่างหูโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



K2.2 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการวาดส่วนประกอบต่างๆของต่างหูโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



K3.1 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการวาดรูปทรงจี้โลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



K3.2 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการวาดส่วนประกอบต่างๆของจี้โลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



K4.1 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการวาดรูปทรงกำไลและสร้อยข้อมือโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



K4.2 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการวาดส่วนประกอบต่างๆของกำไลและสร้อยข้อมือโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



K5.1 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการวาดรูปทรงสร้อยคอโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



K5.2 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการวาดส่วนประกอบต่างๆของสร้อยคอโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้เส้นกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบอุตสาหกรรม



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้ลูกศรในการกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบอุตสาหกรรม



K3.1 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้ตัวเลขและตัวอักษรกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบอุตสาหกรรม



K4.1 ความรู้เกี่ยวกับวิธีการใช้สัญลักษณ์ในการเขียนแบบทางเทคนิคบอกให้ทราบลักษณะของชิ้นงานเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบอุตสาหกรรม



K1.1 ความรู้เกี่ยวกับทฤษฎีสี การเลือกใช้สีและอุปกรณ์ในการวาดภาพเครื่องประดับโลหะมีค่า



K2.1 ความรู้เกี่ยวกับหลักการระบายสีและแสงเงา


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



ES1.1-1เลือกประเภทของโลหะมีค่าในการออกแบบเครื่องประดับ



ES2.1-2 กำหนดพื้นผิวของโลหะมีค่าเพื่อการออกแบบเครื่องประดับ



ES3.1-3กำหนดรูปทรงของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



ES4.1-4 กำหนดน้ำหนักโลหะมีค่าที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ



ES4.2-5 ประเมินน้ำหนักโลหะมีค่าที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ



ES1.1-6 วาดข้อต่อของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนรูปแบบต่างๆ



ES2.1-7 วาดตัวล็อกของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนรูปแบบต่างๆ



ES1.1-8วาดรูปทรงแหวนโลหะมีค่าล้วน



E S1.2-9 วาดส่วนประกอบต่างๆของแหวนโลหะมีค่าล้วน



ES1.3-10 วาดแหวนโลหะมีค่าล้วนในหลายมุมมอง



ES2.1-11 วาดรูปทรงต่างหูโลหะมีค่าล้วน



ES2.2-12 วาดส่วนประกอบต่างๆของต่างหูโลหะมีค่าล้วน



ES2.3-13 วาดต่างหูโลหะมีค่าล้วนในหลายมุมมอง



ES3.1-14 วาดรูปทรงจี้โลหะมีค่าล้วน



ES3.2-15 วาดส่วนประกอบต่างๆของจี้โลหะมีค่าล้วน



ES3.3-16 วาดจี้โลหะมีค่าล้วนในหลายมุมมอง



ES4.1-17 วาดรูปทรงกำไลและสร้อยข้อมือโลหะมีค่าล้วน



ES4.2-18 วาดส่วนประกอบต่างๆของกำไลและสร้อยข้อมือโลหะมีค่าล้วน



ES4.3-19 วาดแบบกำไลและสร้อยข้อมือโลหะมีค่าล้วนในหลายมุมมอง



ES5.1-20 วาดรูปทรงสร้อยคอโลหะมีค่าล้วน



ES5.2-21 วาดส่วนประกอบต่างๆของสร้อยคอโลหะมีค่าล้วน



ES5.3-22 วาดแบบสร้อยคอโลหะมีค่าล้วนในหลายมุมมอง



ES1.1-23 ใช้เส้นกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบ



ES2.1-24 ใช้ลูกศรในการกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



ES3.1-25 ใช้ตัวเลขและตัวอักษรกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการ



เขียนแบบ



ES4.1-26 ใช้สัญลักษณ์ในการเขียนแบบทางเทคนิคบอกลักษณะของชิ้นงานเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



ES1.1-27 เลือกสีและอุปกรณ์ในการวาดภาพเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



ES1.2-28 แสดงวิธีการใช้สีและอุปกรณ์ในการวาดภาพเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



ES1.2-29 ระบายสีและแสงเงาของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



EK1.1-1 อธิบายประเภทและคุณสมบัติของโลหะมีค่า



EK2.1-2 อธิบายลักษณะพื้นผิวของโลหะมีค่าที่ใช้ในการออกแบบเครื่องประดับ



EK3.1-3 อธิบายลักษณะรูปทรงของเครื่องประดับโลหะมีค่ารูปแบบต่างๆ



EK3.2-4 อธิบายเกี่ยวกับกระบวนการผลิตเครื่องประดับ



EK4.1-5 อธิบายวิธีการประเมินน้ำหนักโลหะมีค่า



EK1.1-6 อธิบายเกี่ยวกับกลไกของข้อต่อเครื่องประดับรูปแบบต่างๆ



EK1.1-7 อธิบายเกี่ยวกับกลไกของตัวล็อกเครื่องประดับรูปแบบต่างๆ



EK1.1-8 อธิบายวิธีการวาดรูปทรงแหวนโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



EK1.2-9 อธิบายวิธีการวาดส่วนประกอบต่างๆของแหวนโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



EK2.1-10 อธิบายวิธีการวาดรูปทรงต่างหูโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



EK2.2-11 อธิบายวิธีการวาดส่วนประกอบต่างๆของต่างหูโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



EK3.1-12 อธิบายวิธีการวาดรูปทรงจี้โลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



EK3.2-13 อธิบายวิธีการวาดส่วนประกอบต่างๆของจี้โลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



EK4.1-14 อธิบายวิธีการวาดรูปทรงกำไลและสร้อยข้อมือโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



EK4.2-15 อธิบายวิธีการวาดส่วนประกอบต่างๆของกำไลและสร้อยข้อมือโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



EK5.1-16 อธิบายวิธีการวาดรูปทรงสร้อยคอโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



EK5.2-17 อธิบายวิธีการวาดส่วนประกอบต่างๆของสร้อยคอโลหะมีค่าล้วนตามหลักการออกแบบเครื่องประดับ



EK1.1-18 อธิบายวิธีการใช้เส้นกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบอุตสาหกรรม



EK2.1-19 อธิบายวิธีการใช้ลูกศรในการกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบอุตสาหกรรม



EK3.1-20 อธิบายวิธีการใช้ตัวเลขและตัวอักษรกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบอุตสาหกรรม



EK4.1-21 อธิบายวิธีการใช้สัญลักษณ์ในการเขียนแบบทางเทคนิคบอกลักษณะของชิ้นงานเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบอุตสาหกรรม



EK1.1-22 อธิบายเกี่ยวกับทฤษฎีสี การเลือกใช้สีและอุปกรณ์ในการวาดภาพเครื่องประดับโลหะมีค่า



EK2.1-23 อธิบายหลักการระบายสีและแสงเงา



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



ประเมินเกี่ยวกับสมรรถนะวิชาชีพในแต่ละหน่วยสมรรถนะ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้



(ง) วิธีการประเมิน



1. พิจารณาหลักฐานความรู้



เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียนหรือผลการทดสอบความรู้ตามวัตถุประสงค์



2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน



2.1 เอกสารรับรองการปฏิบัติงานหรือผลการประเมินการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ



2.2 เอกสารการประเมินตามวัตถุประสงค์ด้านทักษะ.



 



 



 


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่น ๆ หรือสถานการณ์อื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง



 (ก) คำแนะนำ



การออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนด้วยมือขั้นกลางผู้เข้ารับการประเมินจะต้องแสดงเกี่ยวกับการกำหนดประเภทของเครื่องประดับมีค่าล้วนการวาดส่วนประกอบของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน การออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆ การเขียนแบบกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบและการวาดภาพสีเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



1. กำหนดประเภทของเครื่องประดับมีค่าล้วนโดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการกำหนดโลหะมีค่าที่เหมาะสมที่นำมาใช้ทำเครื่องประดับ เช่น ทองคำ นาก เงิน ทองแดง ทองเหลือง ทองเค ทองขาว ทองคำขาว ฯลฯกำหนดลักษณะพื้นผิวของเครื่องประดับ เช่น ขัดเงา พ่นทราย ฯลฯ เพื่อใช้ในการออกแบบ รวมทั้งประเมินน้ำหนักของโลหะมีค่าเบื้องต้นเพื่อให้รู้ขนาดที่เหมาะสมและสามารถออกแบบเครื่องประดับให้อยู่ในงบประมาณที่กำหนด



2. วาดส่วนประกอบของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนโดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับวิธีการประกอบชิ้นส่วนเครื่องประดับเข้าด้วยกัน ต้องมีสมรรถนะในการวาดข้อต่อของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆได้ เช่น ข้อต่อสร้อยคอ สร้อยข้อมือ รวมทั้งรู้กลไกของตัวล็อกและวาดตัวล็อกของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนรูปแบบต่างๆได้ เช่น ตัวล็อคสร้อยคอ สร้อยข้อมือ  กำไล เข็มกลัด ฯลฯ



3. ออกแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆโดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะและความรู้ในกระบวนการผลิตเครื่องประดับ หลักการออกแบบเครื่องประดับประเภทต่างๆ เช่น ขนาดมาตรฐานในการออกแบบแหวน ตำแหน่งของต่างหูที่เหมาะสม ขนาดมาตรฐานของสร้อยคอ ขนาดมาตรฐานในการออกแบบกำไลข้อมือ ขนาดมาตรฐานการออกแบบสร้อยข้อมือ รวมทั้งผู้เข้ารับการประเมินต้องปฏิบัติการวาดแบบเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนประเภทต่างๆ เช่น แหวน ต่างหู จี้ กำไลข้อมือ เพื่อให้ผู้เข้ารับการประเมินได้มาตรฐานตามที่กำหนด



4. เขียนแบบกำหนดขนาดเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนตามหลักการเขียนแบบโดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะและรู้หลักการเขียนแบบอุตสาหกรรม การเขียนแบบเครื่องประดับในหลายมุมมอง Top View, Front View, Side View,Perspective พร้อมกำหนดสัดส่วนเพื่อใช้ในระบบอุตสาหกรรม การใช้เส้นกำหนดขนาดตามหลักการเขียนแบบ การใช้ลูกศรในการกำหนดขนาด การใช้ตัวเลขและตัวอักษรตามมาตรฐานการเขียนแบบ และใช้สัญลักษณ์ในการเขียนแบบทางเทคนิคบอกให้ทราบลักษณะของชิ้นงานได้อย่างถูกต้อง



 



 



5. วาดภาพสีเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนโดยผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีสมรรถนะในการเลือกใช้สีและอุปกรณ์ในการวาดภาพเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วน รู้วิธีการระบายสีและแสงเงาของโลหะ เช่น ทองคำ นาก เงิน ทองแดง ทองเหลือง ทองเค ทองขาว ทองคำขาว ฯลฯ นอกจากนั้นจะต้องปฏิบัติการระบายสีและแสงเงาของเครื่องประดับโลหะมีค่าล้วนได้


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A 

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A 

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



            2. แบบประเมินผลจากการสาธิตการปฏิบัติงาน



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



      18.2 เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



            2. แบบประเมินผลจากการสาธิตการปฏิบัติงาน



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



      18.3 เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



            2. แบบประเมินผลจากการสาธิตการปฏิบัติงาน



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



      18.4 เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



            2. แบบประเมินผลจากการสาธิตการปฏิบัติงาน



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



      18.5 เครื่องมือการประเมิน



           1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



            2. แบบประเมินผลจากการสาธิตการปฏิบัติงาน



           ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ