หน่วยสมรรถนะ
รักษาความปลอดภัยบริเวณอาคารที่ทำงานและทรัพย์สิน
สาขาวิชาชีพการท่องเที่ยว การโรงแรม ภัตตาคารและร้านอาหาร
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | THR-HOH-1-105ZB |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | รักษาความปลอดภัยบริเวณอาคารที่ทำงานและทรัพย์สิน |
3. ทบทวนครั้งที่ | / |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
พนักงานบริการส่วนหน้าในโรงแรม - 4222 (ISCO-88 : TH) หรือ 4224 (ISCO-08 : TH) |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้เป็นหน่วยที่เกี่ยวกับความรู้และทักษะที่จำเป็นในการรักษาความปลอดภัยบริเวณอาคารที่ทำงานและทรัพย์สิน ซึ่งเกี่ยวข้องกับการตรวจลาดตระเวนสถานที่ การรับมือกับอัคคีภัยและการเตือนภัยอื่น ๆ การรับมือกับภัยคุกคามด้านความปลอดภัย การรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน การดูแล/เฝ้าสังเกตระบบรักษาความปลอดภัย การจัดการการใช้พลุหรือดอกไม้ไฟ และการดำเนินงานธุรการของการรักษาความปลอดภัย |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
กลุ่มสาขาวิชาชีพการท่องเที่ยว การโรงแรม และภัตตาคาร |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
แม่บ้านในโรงแรม - 5121 (ISCO-88 : TH) หรือ 5151 (ISCO-08 : TH) |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
1.04.140.1 ตรวจลาดตระเวนสถานที่ | 1.1 จัดเตรียมการลาดตระเวนสถานที่ | 1.04.140.1.01 | 44911 |
1.04.140.1 ตรวจลาดตระเวนสถานที่ | 1.2 ดำเนินการลาดตระเวนสถานที่และพื้นที่ที่กำหนด | 1.04.140.1.02 | 44912 |
1.04.140.1 ตรวจลาดตระเวนสถานที่ | 1.3 ติดตามประเมินความปลอดภัยของสถานที่และทรัพย์สิน | 1.04.140.1.03 | 44913 |
1.04.140.1 ตรวจลาดตระเวนสถานที่ | 1.4 บ่งชี้ภัยคุกคามที่อาจจะเกิดขึ้นความเสี่ยงและสถานการณ์ที่น่าสงสัย | 1.04.140.1.04 | 44914 |
1.04.140.2 รับมือกับอัคคีภัยและการเตือนภัยอื่น ๆ | 2.1 กำหนดสภาพและพื้นที่ติดตั้งอุปกรณ์เตือนภัย | 1.04.140.2.01 | 44915 |
1.04.140.2 รับมือกับอัคคีภัยและการเตือนภัยอื่น ๆ | 2.2 ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานให้บริการฉุกเฉิน | 1.04.140.2.02 | 44916 |
1.04.140.2 รับมือกับอัคคีภัยและการเตือนภัยอื่น ๆ | 2.3 ติดต่อประสานงานผู้บริหารอย่างเหมาะสม | 1.04.140.2.03 | 44917 |
1.04.140.2 รับมือกับอัคคีภัยและการเตือนภัยอื่น ๆ | 2.4 ให้ความช่วยเหลือหน่วยงานให้บริการฉุกเฉินในการเข้าถึงพื้นที่และการอำนวยความสะดวกอื่นๆ | 1.04.140.2.04 | 44918 |
1.04.140.2 รับมือกับอัคคีภัยและการเตือนภัยอื่น ๆ | 2.5 ให้การช่วยเหลือเบื้องต้น | 1.04.140.2.05 | 44919 |
1.04.140.2 รับมือกับอัคคีภัยและการเตือนภัยอื่น ๆ | 2.6 กำหนดระดับการเตือนภัยให้สอดคล้องกับหน่วยงานกำกับดูแล/ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง | 1.04.140.2.06 | 44920 |
1.04.140.3 รับมือกับภัยคุกคามด้านความปลอดภัย | 3.1 จัดหน่วยลาดตระเวนเพื่อติดตาม/บ่งชี้พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม | 1.04.140.3.01 | 44921 |
1.04.140.3 รับมือกับภัยคุกคามด้านความปลอดภัย | 3.2 ปิดกั้นพื้นที่เสี่ยง | 1.04.140.3.02 | 44922 |
1.04.140.3 รับมือกับภัยคุกคามด้านความปลอดภัย | 3.3 รับมือกับสิ่งของต้องสงสัย | 1.04.140.3.03 | 44923 |
1.04.140.3 รับมือกับภัยคุกคามด้านความปลอดภัย | 3.4 รับมือกับคำขู่วางระเบิด | 1.04.140.3.04 | 44924 |
1.04.140.4 รับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน | 4.1 กำหนดลักษณะและขอบเขตของสถานการณ์ฉุกเฉิน | 1.04.140.4.01 | 44925 |
1.04.140.4 รับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน | 4.2 ติดต่อประสานงานหน่วยงานให้บริการฉุกเฉิน | 1.04.140.4.02 | 44926 |
1.04.140.4 รับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน | 4.3 นำแผนรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉินไปใช้ปฏิบัติ | 1.04.140.4.03 | 44927 |
1.04.140.4 รับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน | 4.4 ให้การช่วยเหลือเบื้องต้น | 1.04.140.4.04 | 44928 |
1.04.140.4 รับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิน | 4.5 รักษาความปลอดภัยสูงสุดให้กับพื้นที่และทรัพย์สินในระหว่างสถานการณ์ฉุกเฉิน | 1.04.140.4.05 | 44929 |
1.04.140.5 ดูแล/เฝ้าสังเกตระบบรักษาความปลอดภัย | 5.1 รายงานและจดบันทึกในกรณีที่ระบบเตือนภัยมีการแจ้งเตือนและกรณีที่ระบบเตือนภัยทำงานผิดพลาด | 1.04.140.5.01 | 44930 |
1.04.140.5 ดูแล/เฝ้าสังเกตระบบรักษาความปลอดภัย | 5.2 ตรวจสอบสภาพ การตั้งค่า และประสิทธิภาพของระบบรักษาความปลอดภัยต่างๆ รวมถึงระบบการบริหารจัดการพลังงาน | 1.04.140.5.02 | 44931 |
1.04.140.5 ดูแล/เฝ้าสังเกตระบบรักษาความปลอดภัย | 5.3 จัดเก็บหรือบันทึกกิจกรรมต่าง ๆ ตามข้อกำหนด | 1.04.140.5.03 | 44932 |
1.04.140.5 ดูแล/เฝ้าสังเกตระบบรักษาความปลอดภัย | 5.4 ดำเนินกิจกรรมติดตามผลที่จำเป็น | 1.04.140.5.04 | 44933 |
1.04.140.5 ดูแล/เฝ้าสังเกตระบบรักษาความปลอดภัย | 5.5 กำหนดระดับการเตือนภัยให้สอดคล้องกับหน่วยงานกำกับดูแล/ส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง | 1.04.140.5.05 | 44934 |
1.04.140.6 จัดการการใช้พลุหรือดอกไม้ไฟ | 6.1 ระบุข้อกำหนดทางกฎหมายเกี่ยวกับการใช้พลุหรือดอกไม้ไฟ | 1.04.140.6.01 | 44935 |
1.04.140.6 จัดการการใช้พลุหรือดอกไม้ไฟ | 6.2 จัดเตรียมและติดตามมาตรการควบคุมความเสี่ยง | 1.04.140.6.02 | 44936 |
1.04.140.6 จัดการการใช้พลุหรือดอกไม้ไฟ | 6.3 ระบุและจัดทำแผนการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉินและการจัดการความผิดปกติหรือข้อบกพร่อง | 1.04.140.6.03 | 44937 |
1.04.140.6 จัดการการใช้พลุหรือดอกไม้ไฟ | 6.4 จัดให้มีการฝึกอบรมเกี่ยวกับวิธีการใช้พลุหรือดอกไม้ไฟตามความเหมาะสม | 1.04.140.6.04 | 44938 |
1.04.140.7 ดำเนินงานธุรการของการรักษาความปลอดภัย | 7.1 จัดทำแบบฟอร์มเอกสารและรายงานภายในองค์กรที่จำเป็น | 1.04.140.7.01 | 44939 |
1.04.140.7 ดำเนินงานธุรการของการรักษาความปลอดภัย | 7.2 ประสานงานกับฝ่ายบริหารในการให้คำแนะนำเกี่ยวกับการปรับปรุงการรักษาความปลอดภัย | 1.04.140.7.02 | 44940 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ - ทักษะในการใช้เทคนิค วิธีการมาตรฐานด้านความปลอดภัย รวมถึงการใช้อุปกรณ์และเครื่องมือที่เกี่ยวข้องกับระบบรักษาความปลอดภัย การตั้งค่าและการใช้งานระบบเตือนภัย (ข) ความต้องการด้านความรู้ - ความรู้เกี่ยวกับนโยบายและระเบียบวิธีปฏิบัติที่เกี่ยวข้องกับความมั่นคงปลอดภัยของอาคารที่ทำงานและทรัพย์สิน รวมถึงข้อกำหนดด้านการรายงานที่ประยุกต์ใช้หลักการด้านความมั่นคงปลอดภัยของสถานที่ทำการและการบริหารความเสี่ยง |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) (ค) คำแนะนำในการประเมิน (ง) วิธีการประเมิน |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่น ๆ หรือสถานการณ์อื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ข) คำอธิบายรายละเอียด การจัดเตรียมการลาดตระเวนสถานที่ อาจเกี่ยวข้องกับ การดำเนินการลาดตระเวนสถานที่และพื้นที่ที่กำหนด อาจครอบคลุมถึง การติดตามประเมินความปลอดภัยของสถานที่และทรัพย์สิน อาจเกี่ยวข้องกับ ภัยคุกคามที่อาจจะเกิดขึ้น ความเสี่ยงและสถานการณ์ที่น่าสงสัย อาจครอบคลุมถึง สภาพและพื้นที่ติดตั้งอุปกรณ์เตือนภัย อาจหมายรวมถึง การติดต่อประสานงานกับหน่วยงานให้บริการฉุกเฉิน อาจจะครอบคลุมถึง การติดต่อประสานงานกับผู้บริหาร อาจครอบคลุมถึง การให้ความช่วยเหลือหน่วยงานให้บริการฉุกเฉินในการเข้าถึงพื้นที่และการอำนวยความสะดวกอื่น ๆ อาจครอบคลุมถึง การช่วยเหลือเบื้องต้น ซึ่งขึ้นอยู่กับเหตุการณ์ แต่อาจจะครอบคลุมถึง พฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม อาจครอบคลุมถึง
การรับมือกับสิ่งของต้องสงสัย อาจรวมถึง การรับมือกับคำขู่วางระเบิด อาจรวมถึง กำหนดลักษณะและขอบเขตของสถานการณ์ฉุกเฉิน อาจดำเนินการได้โดย ลักษณะและขอบเขตของสถานการณ์ฉุกเฉิน อาจครอบคลุมถึง ติดต่อประสานงานหน่วยงานให้บริการฉุกเฉิน อาจครอบคลุมถึง แผนรับมือในสถานการณ์ฉุกเฉิน เป็นชุดคำสั่งที่ถูกเขียนขึ้นเพื่อให้พนักงานปฏิบัติตามในกรณีที่มีเหตุการณ์ฉุกเฉินเกิดขึ้นภายในองค์กร โดยในแผนดังกล่าวมีการจัดสรรบทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบต่าง ๆ ให้แก่พนักงานเพื่อให้แน่ใจว่าสามารถลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นมาภายหลังให้น้อยที่สุด วัตถุประสงค์ของการจัดทำแผนรับมือในสถานการณ์ฉุกเฉิน อาจครอบคลุมถึง แผนกู้ภัยฉุกเฉิน (Emergency Response) ควรมุ่งเน้นว่าองค์กรต้องทำอะไรบ้าง ต้องเตรียมอะไรบ้าง ต้องมีวัสดุอุปกรณ์ อาคารสถานที่ ในการป้องกันการเกิดการบาดเจ็บหรือการเจ็บป่วย และลดผลกระทบต่อผู้ซึ่งประสบเหตุฉุกเฉินนั้น โดยขั้นตอนสำหรับการตอบสนองต่อสถานการณ์ฉุกเฉินควรได้รับการจัดทำและพิจารณาถึงข้อกำหนดกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ขั้นตอนสำหรับสถานการณ์ฉุกเฉินนี้ต้องกระชับและชัดเจนเพื่อใช้ในสถานการณ์ที่ฉุกเฉินได้ และต้องพร้อมเรียกหานำมาใช้งานได้ในยามเกิดเหตุ หากมีการเก็บเอกสารนี้ในคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใด ๆ ที่อาจเรียกใช้ไม่ได้ในกรณีที่ไฟฟ้าดับ ต้องมีเอกสารชุดสำรองที่พร้อมให้หยิบใช้ในจุดปฏิบัติงาน การจัดทำแผน ต้องพิจารณาถึง การรักษาความปลอดภัยสูงสุดให้กับพื้นที่และทรัพย์สิน อาจครอบคลุมถึง รายงานและจดบันทึกในกรณีที่ระบบเตือนภัยมีการแจ้งเตือน และกรณีที่ระบบเตือนภัยทำงานผิดพลาด อาจครอบคลุมถึง ตรวจสอบสภาพ การตั้งค่า และประสิทธิภาพของระบบ อาจครอบคลุมถึง การจัดเก็บหรือบันทึกกิจกรรมต่าง ๆ อาจเกี่ยวข้องกับ การดำเนินกิจกรรมติดตามผล อาจครอบคลุมถึง การใช้พลุหรือดอกไม้ไฟ ถูกควบคุมโดยกฎหมายหรือข้อกฎหมายท้องถิ่น/เทศบัญญัติ ซึ่งจะต้องได้รับเอกสารการอนุญาตให้จัดแสดงงานโดยขออนุญาตจากเขตปกครอง อำเภอ จังหวัดหรือจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกครั้ง แม้องค์กรจะใช้บริการจากหน่วยงานภายนอกสำหรับบริการการจุดพลุหรือดอกไม้ไฟ แต่องค์กรยังจำเป็นต้องดำเนินการฝึกอบรมเกี่ยวกับวิธีการใช้พลุหรือดอกไม้ไฟให้กับพนักงานของตนตามความเหมาะสม เช่น การกำกับดูแลการเก็บรักษาอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับการแสดงพลุ/ดอกไม้ไฟ การป้องกันผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องเข้าไปยังพื้นที่จุดพลุ เป็นต้น ข้อกำหนดทางกฎหมายเกี่ยวกับการใช้พลุหรือดอกไม้ไฟ อาจเกี่ยวข้องกับ มาตรการควบคุมความเสี่ยง อาจเกี่ยวข้องกับ การจัดทำแผนการบริหารสถานการณ์ฉุกเฉินและการจัดการความผิดปกติ อาจครอบคลุมถึง การฝึกอบรมเกี่ยวกับการใช้พลุหรือดอกไม้ไฟ ควรครอบคลุมถึง งานธุรการของการรักษาความปลอดภัย มีหน้าที่ในการประสานงานกับหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์กร จัดทำประวัติการทำงานของบุคลากร จัดทำ ผลิต และรวบรวมเอกสารต่าง ๆ ของแผนก จัดทำเอกสารขออนุมัติปฏิบัติงานนอกเวลา จัดทำบัญชีวัสดุครุภัณฑ์ของแผนกรักษาความปลอดภัย เป็นต้น แบบฟอร์มเอกสารและรายงานภายในองค์กร อาจครอบคลุมถึง |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
กระบวนการและวิธีการประเมินให้ดูในคู่มือการประเมิน |