หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ควบคุมคุณภาพของงานให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน

สาขาวิชาชีพธุรกิจภาพถ่าย


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PHO-PGL-3-029ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ควบคุมคุณภาพของงานให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน

3. ทบทวนครั้งที่ - / 2557

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ผลิตภาพระบบดิจิตอล ควบคุมคุณภาพงานอัดภาพระบบดิจิตอล



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลที่ผ่านสมรรถนะนี้จะสามารถตรวจผลผลิตให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน  การวิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขงานที่ไม่ผ่านคุณภาพ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ธุรกิจถ่ายภาพ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
B3011 ตรวจผลผลิตให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 1.1 ตรวจสอบขนาดและชนิดของกระดาษ B3011.01 5657
B3011 ตรวจผลผลิตให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 1.2ตรวจสอบคุณภาพสี B3011.02 5658
B3011 ตรวจผลผลิตให้ได้ตามเกณฑ์มาตรฐาน 1.3ตรวจสอบข้อบกพร่องต่างๆของภาพ B3011.03 5659
B3012 วิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขงานที่ไม่ผ่านคุณภาพ 2.1ประเมินงานที่เกิดปัญหา B3012.01 5660
B3012 วิเคราะห์ปัญหาและแก้ไขงานที่ไม่ผ่านคุณภาพ 2.2 แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้ตามสาเหตุ B3012.02 5661

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

1. สื่อสารภายในและภายนอกกับบุคคลอื่นๆได้

2. ใช้ศัพท์เทคนิคที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการผลิตภาพในระบบต่างๆ ที่ใช้ในองค์กร

3. รู้กระบวนการผลิตภาพในระบบต่างๆ ที่ใช้ในองค์กร


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ตรวจสอบขนาดและชนิดของกระดาษ  

2. ตรวจสอบคุณภาพสี   

3. ตรวจสอบข้อบกพร่องต่างๆของภาพให้มีการผลิตที่ได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. หลักการควบคุมคุณภาพของงาน

2. หลักการวิเคราะห์หรือประเมินปัญหาที่เกิดจากความบกพร่องของเครื่องมือที่ใช้

3. มาตรฐานการผลิตภาพ


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

     หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

     (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

          1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ หรือ

          2. ผลงานประกอบการพิจารณาเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพ หรือ

          3. แบบบันทึกรายการผลจากการสังเกตการปฏิบัติงาน

     (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

          1. เอกสารรับรองจากสถานประกอบการ  หรือ

          2. เอกสารรับรองผลการเรียนหรือรับรองผลการอบรม หรือ

          3. แบบบันทึกผลการสัมภาษณ์ 

     (ค) คำแนะนำในการประเมิน

          ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพของงานให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้ โดยประเมินจากการแก้ปัญหาและแก้ไขงานที่ไม่ผ่านคุณภาพ    

     (ง) วิธีการประเมิน 

          1. ให้พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน

          2. ให้พิจารณาตามหลักฐานความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

     สภาพแวดล้อมอื่นๆ หรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมคุณภาพของงานให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน   

     (ก) คำแนะนำ 

          1. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องสาธิตวิธีการตรวจสอบขนาดและชนิดของกระดาษ  

          2. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องการตรวจสอบคุณภาพสี   การตรวจสอบข้อบกพร่องต่างๆของภาพให้มีการผลิตที่ได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน

     (ข) คำอธิบายรายละเอียด

          1. การตรวจสอบขนาดและชนิดของกระดาษ  

          2. การตรวจสอบคุณภาพสี   

          3. การตรวจสอบข้อบกพร่องต่างๆของภาพให้มีการผลิตที่ได้คุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือการประเมิน  

    1. แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์    

    2. การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน    

18.2 เครื่องมือการประเมิน 

    1. แบบฟอร์มบันทึกการสัมภาษณ์        

    2. การสังเกตการณ์ปฏิบัติงาน          

    

ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ