หน่วยสมรรถนะ
ประเมินสภาวะทางอารมณ์ของผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | HLT-ZZZ-4-010ZA |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ประเมินสภาวะทางอารมณ์ของผู้สูงอายุได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
N/A
|
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
เป็นผู้มีความรู้ทางด้านการประเมินภาวะความเครียดและภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
ไม่มี |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
ไม่มี |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
10110.01 ดูแลภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 1.สังเกตสภาวะของน้ำหนักตัวหากมีการลดหรือเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุ และรายงานผลอยู่เสมอ | 10110.01.01 | 16987 |
10110.01 ดูแลภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 2.สังเกตผู้สูงอายุที่มีภาวะความอ่อนเพลียหรือไม่มีแรงและวิธีป้องกันอาการเหนื่อยล้า | 10110.01.02 | 16988 |
10110.01 ดูแลภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 3.สังเกตระยะเวลาการนอนหลับของผู้สูงอายุแต่ละรายพร้อมรายงานผลเป็นรายชั่วโมง | 10110.01.03 | 16989 |
10110.01 ดูแลภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 4.สังเกตการทำกิจวัตรประจำวันว่ามีการเคลื่อนไหวช้าลงหรือกระสับกระส่ายพร้อมรายงานผลให้หัวหน้างานรับทราบ | 10110.01.04 | 16990 |
10110.01 ดูแลภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 5.สังเกตความผิดปกติจากการพูดคุยอยู่เสมอ | 10110.01.05 | 16991 |
10110.01 ดูแลภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 6.กล่าวคำชมเชยต่อผู้สูงอายุเพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจต่อการมีชีวิตอยู่สม่ำเสมอ | 10110.01.06 | 16992 |
10110.01 ดูแลภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 7.สังเกตการแยกตัวออกจากสังคมของผู้สูงอายุและรายงานผลให้หัวหน้างานรับทราบ | 10110.01.07 | 16993 |
10110.02 ดูแลภาวะความเครียดของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 1.สังเกตการพูดคุยหรือการทำกิจกรรมต่างๆของผู้สูงอายุอยู่เสมอ | 10110.02.01 | 16994 |
10110.02 ดูแลภาวะความเครียดของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 2.สังเกตพฤติกรรมผู้สูงอายุจากการทำกิจวัตรประจำวันพื้นฐานอยู่เสมอ | 10110.02.02 | 16995 |
10110.02 ดูแลภาวะความเครียดของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 3.สังเกตการนอนหลับของผู้สูงอายุว่ามีระยะเวลาในการพักผ่อนอย่างเหมาะสมและเพียงพอ | 10110.02.03 | 16996 |
10110.02 ดูแลภาวะความเครียดของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 4.สังเกตการทำกิจวัตรประจำวันของผู้สูงอายุว่ามีการเคลื่อนไหวช้าลงหรือกระสับกระส่าย หรือไม่ | 10110.02.04 | 16997 |
10110.02 ดูแลภาวะความเครียดของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 5.ประเมินความผิดปกติของผู้สูงอายุจากการทำกิจกรรมต่างๆ | 10110.02.05 | 16998 |
10110.02 ดูแลภาวะความเครียดของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 6.สังเกตสภาวะตึงเครียดของผู้สูงอายุและรายงานผลให้หัวหน้างานรับทราบ | 10110.02.06 | 16999 |
10110.02 ดูแลภาวะความเครียดของผู้สูงอายุโดยใช้หลักเกณฑ์ในการประเมินสภาวะทางจิตใจและมีการรายงายผลอยู่เสมอ | 7.กล่าวชมเชยกับผู้สูงอายุอย่างเหมาะสมเพื่อให้คลายความตึงเครียดลงได้ | 10110.02.07 | 17000 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
ไม่มี |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ ไม่มี (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้เกี่ยวกับการประเมินความซึมเศร้า 2. ความรู้เกี่ยวกับการประเมินความเครียด |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) ไม่มี (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. ผลการสัมภาษณ์และ/หรือ ผลจากการสังเกตจากการปฏิบัติงานจริง 2. ผลการทดสอบความรู้ 3. แฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) 4. เอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง (ค) คำแนะนำในการประเมิน ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมินที่ครอบคลุมในทุกสมรรถนะย่อยขอบเขตความรู้และทักษะที่กำหนดในกรณีที่ผู้รับการประเมินผ่านไม่ครบตามเกณฑ์กำหนดผู้ประเมินต้องแจ้งหน่วยสมรรถนะและสมรรถนะย่อยที่ไม่ผ่านให้ผู้รับการประเมินไปทบทวนสมรรถนะที่ยังไม่ผ่านและสามารถกลับมาทดสอบสมรรถนะใหม่อีกครั้ง (ง) 1. ผู้ประเมินทำการประเมินการปฏิบัติงานจริงที่ต้องการของผู้เข้าทดสอบโดยใช้แบบบันทึกรายการจากการสังเกตและเอกสารหลักฐานที่จำเป็นในการปฏิบัติงานต่างๆ 2. ผู้ประเมินทำการประเมินความรู้ผู้เข้าทดสอบโดยใช้แบบสัมภาษณ์และ/หรือแบบทดสอบความรู้แฟ้มสะสมผลงานและ/หรือเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงานและสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆที่มีผลกระทบต่อการทำงานรวมถึงเครื่องมืออุปกรณ์เทคโนโลยีทรัพยากรที่ใช้หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (ก) คำแนะนำ ไม่มี (ข) คำอธิบายรายละเอียด 1. การประเมินความซึมเศร้า หมายถึง การประเมินผู้มีความเสี่ยง หรือมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคซึมเศร้าเพื่อให้ทราบถึงระดับความรุนแรงของการซึมเศร้า 2. การประเมินความเครียด หมายถึง การประเมินผู้มีความเสี่ยง หรือมีแนวโน้มที่จะเป็นโรคเครียด เพื่อให้ทราบถึงความรุนแรงของอาการเครียด |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
ไม่มี |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
ไม่มี |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
กระบวนการและวิธีการประเมินให้ดูในคู่มือการประเมิน |