หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ปฏิบัติดูแลด้านการให้อาหารทางสาย Tube feeding ให้กับผู้สูงอายุโดย วิธีการที่ถูกต้องและปลอดภัย

สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HLT-ZZZ-3-009ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ปฏิบัติดูแลด้านการให้อาหารทางสาย Tube feeding ให้กับผู้สูงอายุโดย วิธีการที่ถูกต้องและปลอดภัย

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
     เป็นผู้มีความรู้ในหลักการให้อาหารทางสาย Tube feeding ที่เหมาะสมและถูกสุขลักษณะอนามัยกับผู้สูงอายุ และการจัดเก็บอาหารให้คงคุณค่าทางอาหารอย่างมีประสิทธิภาพ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ไม่มี

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ไม่มี

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
10109.01 การให้อาหารผู้สูงอายุทางสาย Tube feeding ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย* 1.คัดเลือกอาหารเหลวที่มีคุณค่า 10109.01.01 16980
10109.01 การให้อาหารผู้สูงอายุทางสาย Tube feeding ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย* 2.จัดเตรียมอุปกรณ์ที่ให้อาหารทางสายยางได้อย่างถูกต้องและสะอาด 10109.01.02 16981
10109.01 การให้อาหารผู้สูงอายุทางสาย Tube feeding ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย* 3.ให้อาหารทางสายยางภายใต้การดูแลของผู้เชี่ยวชาญ 10109.01.03 16982
10109.01 การให้อาหารผู้สูงอายุทางสาย Tube feeding ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย* 4.ตรวจสอบตำแหน่งของสายยางว่าสายยางให้อาหารอยู่ในกระเพาะอาหารหรือไม่ก่อนให้อาหารทุกครั้งตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ 10109.01.04 16983
10109.01 การให้อาหารผู้สูงอายุทางสาย Tube feeding ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย* 5.ป้องกันไม่ให้ลมผ่านเข้าสายยางให้อาหารของผู้สูงอายุได้ 10109.01.05 16984
10109.01 การให้อาหารผู้สูงอายุทางสาย Tube feeding ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย* 6.ให้อาหารเหลวประเภทนมผงหรือนมผสมสำเร็จรูปโดยวิธีการหยดทางสายยางอย่างถูกวิธี 10109.01.06 16985
10109.01 การให้อาหารผู้สูงอายุทางสาย Tube feeding ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย* 7.สังเกตอาการผิดปกติของผู้สูงอายุที่อาจเกิดขึ้นได้เช่น ท้องเดิน ท้องผูก ท้องอืด คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ขาดสารอาหารขาดสมดุลน้ำและเกลือแร่ และรายงานให้หัวหน้างานทราบทันในเวลา 10109.01.07 16986

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ไม่มี


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. มีทักษะในการตรวจสอบและประเมินความเหมาะสมก่อนการให้อาหารทางสายยาง

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับวิธีการให้อาหารทางสาย tube feeding


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

       หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

             ไม่มี

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

    1. ผลการสังเกตการณ์จากการปฏิบัติงาน

    2. ผลการทดสอบความรู้

    3. แฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) และ/หรือ

    4. เอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

            ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมินที่ครอบคลุมในทุกสมรรถนะย่อยขอบเขตความรู้และทักษะที่กำหนดในกรณีที่ผู้รับการประเมินผ่านไม่ครบตามเกณฑ์กำหนดผู้ประเมินต้องแจ้งหน่วยสมรรถนะและสมรรถนะย่อยที่ไม่ผ่านให้ผู้รับการประเมินไปทบทวนสมรรถนะที่ยังไม่ผ่านและสามารถกลับมาทดสอบสมรรถนะใหม่อีกครั้ง

(ง) วิธีการประเมิน

    1. ผู้ประเมินทำการประเมินการปฏิบัติงานจริงที่ต้องการของผู้เข้าทดสอบโดยใช้แบบบันทึกรายการจากการสังเกตและเอกสารหลักฐานที่จำเป็นในการปฏิบัติงานต่างๆ

   2. ผู้ประเมินทำการประเมินความรู้ผู้เข้าทดสอบโดยใช้แบบสัมภาษณ์และ/หรือแบบทดสอบความรู้แฟ้มสะสมผลงานและ/หรือเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง



15. ขอบเขต (Range Statement)

      ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงานและสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆที่มีผลกระทบต่อการทำงานรวมถึงเครื่องมืออุปกรณ์เทคโนโลยีทรัพยากรที่ใช้หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

(ก) คำแนะนำ

            ไม่มี

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

             1. การให้อาหารทางสาย tube feeding เป็นวิธีการให้อาหารเมื่อมีปัญหาในการให้อาหารทางปาก แต่ระบบทางเดินอาหารยังทำหน้าที่อยู่ในเกณฑ์ที่ดี คือ การย่อยและการดูดซึมเข้าสู่ร่างกายดี แต่ผู้ป่วยมีปัญหา เช่น กลืนลำบาก กลืนแล้วสำลัก ร่างกายอ่อนเพลียมาก รับประทานอาหารไม่ได้ หรือรับประทานอาหารไม่เพียงพอ ขาดอาหาร ผู้ป่วยที่ไม่รู้สึกตัว เช่น โรคทางสมอง หรือได้รับการผ่าตัดเกี่ยวกับปาก 



16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่มี

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
ไม่มี

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

กระบวนการและวิธีการประเมินให้ดูในคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ