หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

คัดเลือกอาหารสำหรับผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม

สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HLT-ZZZ-2-004ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ คัดเลือกอาหารสำหรับผู้สูงอายุได้อย่างเหมาะสม

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
   เป็นผู้มีความรู้ในหลักโภชนาการที่จำเป็นในการจัดเตรียมอาหารที่เหมาะสมและถูกสุขลักษณะอนามัยกับผู้สูงอายุ และการจัดเก็บอาหารให้คงคุณค่าทางอาหารอย่างมีประสิทธิภาพ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ไม่มี

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ไม่มี

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
10104.01 คัดเลือกอาหารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ตามลักษณะกายภาพของแต่ละบุคคล 1.คัดเลือกอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสำหรับผู้สูงอายุได้อย่างครบถ้วนและเหมาะสม 10104.01.01 16922
10104.01 คัดเลือกอาหารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ตามลักษณะกายภาพของแต่ละบุคคล 2.คัดเลือกอาหารสำหรับผู้สูงอายุตามความเหมาะสมกับลักษณะทางกายภาพของแต่ละบุคคล 10104.01.02 16923
10104.01 คัดเลือกอาหารที่เหมาะสมกับผู้สูงอายุ ตามลักษณะกายภาพของแต่ละบุคคล 3.ดูแลการรับประทานอาหารที่ไม่เป็นโทษต่อร่างกายผู้สูงอายุ 10104.01.03 16924

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ไม่มี


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. มีทักษะในการประเมินความเหมาะสมในการเลือกประเภทอาหารให้เหมาะสม

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับการคัดเลือกอาหารที่เหมาะสม


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

margin-left:.5in;text-align:justify;text-justify:inter-cluster;text-indent:
6.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none">หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

margin-left:.5in;text-align:justify;text-justify:inter-cluster;text-indent:
6.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none">(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

margin-left:.5in;text-align:justify;text-justify:inter-cluster;text-indent:
6.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none">    ไม่มี

margin-left:.5in;text-align:justify;text-justify:inter-cluster;text-indent:
6.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none">(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

margin-left:.5in;text-align:justify;text-justify:inter-cluster;text-indent:
6.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none">    1. ผลการสังเกตการณ์จากการปฏิบัติงาน

margin-left:.5in;text-align:justify;text-justify:inter-cluster;text-indent:
6.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none">    2. ผลการทดสอบความรู้

margin-left:.5in;text-align:justify;text-justify:inter-cluster;text-indent:
6.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none">    3. แฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) และ/หรือ

margin-left:.5in;text-align:justify;text-justify:inter-cluster;text-indent:
6.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none">    4. เอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง

margin-left:.5in;text-align:justify;text-justify:inter-cluster;text-indent:
6.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none">(ค) คำแนะนำในการประเมิน

margin-left:.5in;text-align:justify;text-justify:inter-cluster;text-indent:
6.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none">  ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมินที่ครอบคลุมในทุกสมรรถนะย่อยขอบเขตความรู้และทักษะที่กำหนดในกรณีที่ผู้รับการประเมินผ่านไม่ครบตามเกณฑ์กำหนดผู้ประเมินต้องแจ้งหน่วยสมรรถนะและสมรรถนะย่อยที่ไม่ผ่านให้ผู้รับการประเมินไปทบทวนสมรรถนะที่ยังไม่ผ่านและสามารถกลับมาทดสอบสมรรถนะใหม่อีกครั้ง

margin-left:.5in;text-align:justify;text-justify:inter-cluster;text-indent:
6.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none">(ง) วิธีการประเมิน

margin-left:.5in;text-align:justify;text-justify:inter-cluster;text-indent:
6.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none"> 1. ผู้ประเมินทำการประเมินการปฏิบัติงานจริงที่ต้องการของผู้เข้าทดสอบโดยใช้แบบบันทึกรายการจากการสังเกตและเอกสารหลักฐานที่จำเป็นในการปฏิบัติงานต่างๆ

margin-left:.5in;text-align:justify;text-justify:inter-cluster;text-indent:
6.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none"> 2. ผู้ประเมินทำการประเมินความรู้ผู้เข้าทดสอบโดยใช้แบบสัมภาษณ์และ/หรือแบบทดสอบความรู้แฟ้มสะสมผลงานและ/หรือเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง



15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงานและสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆที่มีผลกระทบต่อการทำงานรวมถึงเครื่องมืออุปกรณ์เทคโนโลยีทรัพยากรที่ใช้หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง

(ก) คำแนะนำ

     ไม่มี

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

     1. การคัดเลือกอาหารหมายถึงการสรรหาหรือจัดหาให้ได้มาซึ่งวัตถุดิบเพื่อมาปรุงอาหารให้เหมาะสมต่อลักษณะการรับประทานของแต่ละบุคคล ซึ่งจะต้องคำนึงถึงความเหมาะสมและโรคประจำตัวของแต่ละบุคคลมาใช้ในการตัดสินใจ เพื่อให้ได้อาหารที่มีคุณค่าต่อผู้บริโภคและสามารถรับสารอาหารได้อย่างเหมาะสม



16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่มี

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
ไม่มี

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

กระบวนการและวิธีการประเมินให้ดูในคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ