หน่วยสมรรถนะ
ดูแลด้านโภชนาการของผู้สูงอายุอย่างถูกสุขลักษณะอนามัย
สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | HLT-ZZZ-1-001ZA |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ดูแลด้านโภชนาการของผู้สูงอายุอย่างถูกสุขลักษณะอนามัย |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
N/A
|
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
เป็นผู้มีความรู้ในหลักโภชนาการที่จำเป็นในการจัดเตรียมอาหารที่เหมาะสมและถูกสุขลักษณะอนามัยกับผู้สูงอายุ และการจัดเก็บอาหารให้คงคุณค่าทางอาหารอย่างมีประสิทธิภาพ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
ผู้ดูแลผู้สูงอายุ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
ไม่มี |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
ไม่มี |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
10101.01 จัดเตรียมอาหารสำหรับผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้องและครบถ้วนตามหลักโภชนาการ | 1. จัดเตรียมอาหารที่เหมาะสมกับโรคประจำตัวผู้สูงอายุตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ | 10101.01.01 | 16879 |
10101.01 จัดเตรียมอาหารสำหรับผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้องและครบถ้วนตามหลักโภชนาการ | 2. เลือกวิธีการปรุงอาหารที่เหมาะสมกับการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกายของผู้สูงอายุอย่างเหมาะสม | 10101.01.02 | 16880 |
10101.01 จัดเตรียมอาหารสำหรับผู้สูงอายุได้อย่างถูกต้องและครบถ้วนตามหลักโภชนาการ | 3. ปรุงอาหารได้อย่างสะอาดและปลอดภัยเหมาะสมกับผู้สูงอายุตั้งแต่การเลือกวัตถุดิบ การล้างจนกระทั่งถึงขั้นตอนการปรุงอาหารที่สะอาดและปลอดภัย | 10101.01.03 | 16881 |
10101.02 ป้อนอาหารให้กับผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย | 1.สอนให้ผู้สูงอายุสามารถสวมใส่ฟันปลอมได้อย่างถูกวิธีและไม่เป็นอันตรายต่อช่องปาก | 10101.02.01 | 16882 |
10101.02 ป้อนอาหารให้กับผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย | 2.ดูแลอุปกรณ์ที่ใช้ป้อนผู้สูงอายุอย่างมีสุขลักษณะที่ดี | 10101.02.02 | 16883 |
10101.02 ป้อนอาหารให้กับผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย | 3.วางภาชนะใส่อาหารที่สามารถมองเห็นได้สำหรับผู้สูงอายุได้อย่างปลอดภัยและสะดวกต่อการป้อนอาหาร | 10101.02.03 | 16884 |
10101.02 ป้อนอาหารให้กับผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย | 4.ป้อนอาหารให้ผู้สูงอายุในปริมาณที่เหมาะสมและเว้นจังหวะการป้อนอย่างเหมาะสม | 10101.02.04 | 16885 |
10101.02 ป้อนอาหารให้กับผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย | 5.สร้างกำลังใจให้ผู้สูงอายุเกิดความสุขในการรับประทานอาหารสามารถรับประทานอาหารในปริมาณที่เพียงพอได้ | 10101.02.05 | 16886 |
10101.02 ป้อนอาหารให้กับผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย | 6.ประเมินความอิ่มจากการรับประทานอาหารของผู้สูงอายุตลอดเวลา | 10101.02.06 | 16887 |
10101.02 ป้อนอาหารให้กับผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย | 7.ใส่ใจในการสังเกตอาการสำลักอาหารและป้องกันผู้สูงอายุไม่ให้เกิดการสำลักอาหารหรือน้ำ | 10101.02.07 | 16888 |
10101.02 ป้อนอาหารให้กับผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย | 8.ช่วยเหลือผู้สูงอายุเมื่อเกิดการสำลักอาหาร | 10101.02.08 | 16889 |
10101.02 ป้อนอาหารให้กับผู้สูงอายุได้อย่างถูกวิธีและปลอดภัย | 9.จัดเตรียมภาชนะใส่อาหารสำหรับผู้สูงอายุได้อย่างถูกสุขลักษณะอนามัย | 10101.02.09 | 16890 |
10101.03 การจัดเก็บอาหารสำหรับผู้สูงอายุด้วยวิธีที่เหมาะสม | 1.จัดเก็บอาหารสำหรับผู้สูงอายุอย่างถูกวิธีและถูกสุขลักษณะอนามัย | 10101.03.01 | 16891 |
10101.03 การจัดเก็บอาหารสำหรับผู้สูงอายุด้วยวิธีที่เหมาะสม | 2.จัดเก็บวัตถุดิบที่ใช้ในการประกอบอาหารได้อย่างถูกสุขลักษณะอนามัย | 10101.03.02 | 16892 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
ไม่มี |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1.มีทักษะในการจัดเตรียมอาหาร ที่ถูกสุขลักษณะอนามัย 2.มีทักษะการประเมินสถานการณ์ ขณะป้อนอาหาร 3.มีทักษะในการประเมินความเหมาะสมในการเลือกประเภทอาหารให้เหมาะสม (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้เกี่ยวในการเตรียมอาหาร 2. ความรู้เกี่ยวกับวิธีการป้อนอาหาร |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) ไม่มี (ข) 1. ผลการสังเกตการณ์จากการปฏิบัติงาน 2. ผลการทดสอบความรู้ 3. แฟ้มสะสมผลงาน (portfolio) และ/หรือ 4. เอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง (ค) inter-cluster;line-height:normal;tab-stops:21.3pt;mso-layout-grid-align:none; ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมินที่ครอบคลุมในทุกสมรรถนะย่อยขอบเขตความรู้และทักษะที่กำหนดในกรณีที่ผู้รับการประเมินผ่านไม่ครบตามเกณฑ์กำหนดผู้ประเมินต้องแจ้งหน่วยสมรรถนะและสมรรถนะย่อยที่ไม่ผ่านให้ผู้รับการประเมินไปทบทวนสมรรถนะที่ยังไม่ผ่านและสามารถกลับมาทดสอบสมรรถนะใหม่อีกครั้ง mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none">(ง) วิธีการประเมิน mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none"> 1. ผู้ประเมินทำการประเมินการปฏิบัติงานจริงที่ต้องการของผู้เข้าทดสอบโดยใช้แบบบันทึกรายการจากการสังเกตและเอกสารหลักฐานที่จำเป็นในการปฏิบัติงานต่างๆ mso-layout-grid-align:none;text-autospace:none"> 2. ผู้ประเมินทำการประเมินความรู้ผู้เข้าทดสอบโดยใช้แบบสัมภาษณ์และ/หรือแบบทดสอบความรู้แฟ้มสะสมผลงานและ/หรือเอกสาร/หลักฐานที่เกี่ยวข้อง inter-cluster;text-indent:42.55pt;line-height:normal;mso-layout-grid-align: |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงานและสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆที่มีผลกระทบต่อการทำงานรวมถึงเครื่องมืออุปกรณ์เทคโนโลยีทรัพยากรที่ใช้หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง (ก) คำแนะนำ ไม่มี (ข) คำอธิบายรายละเอียด 1. กระบวนการจัดเตรียมอาหารหมายถึง วิธีการต่างๆ ที่ทำให้อาหารพร้อมที่จะบริโภคได้ เช่น การล้าง ปอก 2. การให้อาหารทางการป้อนหมายถึง วิธีการที่ผู้สูงอายุจะได้รับอาหารอย่างเพียงพอ 3. กระบวนการจัดเก็บอาหาร หมายถึง
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
ไม่มี |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
ไม่มี |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
กระบวนการและวิธีการประเมินให้ดูในคู่มือการประเมิน |