หน่วยสมรรถนะ
เปลี่ยนขดลวดมอเตอร์ไฟฟ้า
สาขาวิชาชีพพลังงานและพลังงานทดแทน
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | GPW-EGS-5-241ZB |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | เปลี่ยนขดลวดมอเตอร์ไฟฟ้า |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพผู้ปฏิบัติงานด้านการบำรุงรักษามอเตอร์ไฟฟ้า ระดับ 5 |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้ สามารถเปลี่ยนขดลวดมอเตอร์ โดยจะถอดและประกอบขดลวดของ Stator ของมอเตอร์ไฟฟ้า ดำเนินการเชื่อมวัสดุและขดลวดตัวนำ พันฉนวนของมอเตอร์ไฟฟ้า อบฉนวน ไล่ความชื้น Stator ของมอเตอร์ไฟฟ้า ทดสอบทางไฟฟ้าของขดลวด Stator ของมอเตอร์ไฟฟ้า ตรวจสอบความเรียบร้อยของงานเปลี่ยนขดลวดของมอเตอร์ไฟฟ้า และตรวจสอบ Rotor และอุปกรณ์ประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้า |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
พลังงานและพลังงานทดแทน สาขางานระบบผลิตไฟฟ้า |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
1. กฎหมายด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับการทำงานด้านไฟฟ้า - กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีว อนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับไฟฟ้า พ.ศ. 25582. กฎหมายด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับการทำงานกับสารเคมี - กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. 2556 - ประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดสารเคมีอันตรายที่ให้นายจ้างจัดให้มีการตรวจสุขภาพของลูกจ้าง พ.ศ. 2552 - ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง บัญชีรายชื่อสารเคมีอันตราย พ.ศ. 2556 - ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง แบบบัญชีรายชื่อสารเคมีอันตรายและรายละเอียดข้อมูลความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย พ.ศ. 25563. กฏหมายด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับเครน ปั้นจั่น และการให้สัญญาณ - กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับเครื่องจักร ปั้นจั่น และหม้อน้ำ พ.ศ. 2552 - ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการ การใช้เชือก ลวดสลิง และรอก พ.ศ. 2553 - ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง กำหนดรูปภาพการใช้สัญญาณมือในการสื่อสารระหว่างผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2553 - ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการอบรมหลักสูตรการปฏิบัติหน้าที่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ให้สัญญาณแก่ผู้บังคับปั้นจั่น ผู้ยึดเกาะวัสดุ หรือผู้ควบคุมการใช้ปั้นจั่น และการอบรมทบทวนการทำงานเกี่ยวกับปั้นจั่น พ.ศ. 2554 - ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง ชนิดและประเภทเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่ใช้ในการทำงานก่อสร้างที่ต้องตรวจรับรองประจำปี พ.ศ. 2554 - ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการทดสอบส่วนประกอบและอุปกรณ์ของปั้นจั่น พ.ศ. 25544. กฎหมายด้านความปลอดภัยเกี่ยวกับการทำงานบนที่สูง - กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสิ่งแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับงานก่อสร้าง พ.ศ. 25515. กฎหมายอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
PGS-MC04-5-009-01 เปลี่ยนขดลวด Stator มอเตอร์ไฟฟ้า | 1.อธิบายหลักการปรับปรุงและเปลี่ยนขดลวดของมอเตอร์ไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง |
PGS-MC04-5-009-01.01 | 151760 |
PGS-MC04-5-009-01 เปลี่ยนขดลวด Stator มอเตอร์ไฟฟ้า | 2.ถอดและประกอบขดลวดของ Stator
ได้อย่างถูกต้อง ไม่เสียหายและปลอดภัย |
PGS-MC04-5-009-01.02 | 151761 |
PGS-MC04-5-009-01 เปลี่ยนขดลวด Stator มอเตอร์ไฟฟ้า | 3.ดำเนินการเชื่อมวัสดุและขดลวดตัวนำ
ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย |
PGS-MC04-5-009-01.03 | 151762 |
PGS-MC04-5-009-01 เปลี่ยนขดลวด Stator มอเตอร์ไฟฟ้า | 4.พันฉนวนของมอเตอร์ไฟฟ้าได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย |
PGS-MC04-5-009-01.04 | 151763 |
PGS-MC04-5-009-01 เปลี่ยนขดลวด Stator มอเตอร์ไฟฟ้า | 5. อบฉนวน ไล่ความชื้น Stator
ได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย |
PGS-MC04-5-009-01.05 | 151764 |
PGS-MC04-5-009-01 เปลี่ยนขดลวด Stator มอเตอร์ไฟฟ้า | 6. ทดสอบทางไฟฟ้าของขดลวด Stator |
PGS-MC04-5-009-01.06 | 151765 |
PGS-MC04-5-009-01 เปลี่ยนขดลวด Stator มอเตอร์ไฟฟ้า | 7.ตรวจสอบความเรียบร้อยของงานเปลี่ยนขดลวดพร้อมรายงานผลการทำงาน |
PGS-MC04-5-009-01.07 | 151766 |
PGS-MC04-5-009-02 ตรวจสอบ Rotor และอุปกรณ์ประกอบ | 1.ความรู้พื้นฐานการ
Overhaul
Rotor
และส่วนประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้า |
PGS-MC04-5-009-02.01 | 151767 |
PGS-MC04-5-009-02 ตรวจสอบ Rotor และอุปกรณ์ประกอบ | 2. ตรวจสอบ
rotor
ของมอเตอร์ไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง |
PGS-MC04-5-009-02.02 | 151768 |
PGS-MC04-5-009-02 ตรวจสอบ Rotor และอุปกรณ์ประกอบ | 3.ตรวจสอบ อุปกรณ์ประกอบของมอเตอร์ไฟฟ้าได้อย่างถูกต้อง |
PGS-MC04-5-009-02.03 | 151769 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
1. ความรู้เรื่องเครื่องกลไฟฟ้า ประกอบด้วยเนื้อหาเรื่องวงจรแม่เหล็ก แม่เหล็กยกของโครงสร้างและหลักการทำงานของเครื่องกลไฟฟ้ากระแสตรง โครงสร้างและหลักการทำงานของหม้อแปลงไฟฟ้าชนิดหนึ่งเฟสและสามเฟส โครงสร้างและหลักการทำงานของเครื่องกลซิงโครนัสมอเตอร์ซิงโครนัสชนิดแม่เหล็กถาวรแบบติดแม่เหล็กข้างนอกและติดข้างในตัวหมุน (โรเตอร์) โครงสร้างและหลักการทำงานของมอเตอร์เหนี่ยวนำชนิดหนึ่งเฟสและสามเฟส 2. งานเชื่อมประสานโลหะ ประกอบด้วยลักษณะรูปแบบและวิธีการเชื่อมประสานโลหะอ่อน (ตัวนำประเภทต่างๆ) |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ ทักษะในการทำงานด้านเทคนิค (Technical Skills)
ทักษะในการทำงาน (Soft Skills)
(ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) หรือ
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) หรือ
(ค) คำแนะนำในการประเมิน ประเมินเข้ารับการประเมินสามารถนำหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้มาประกอบในการประเมิน โดยรวบรวมข้อมูลตามรายละเอียดที่แสดงใน check-list รายการ (ง) วิธีการประเมิน 1. พิจารณาหลักฐานความรู้ ที่ผู้เข้ารับการประเมินนำมาแสดง เช่น ใบรับรองฯ 2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน แสดงหลักฐานการผ่านการอบรม/ใบรับรองจากสถานประกอบการ (ถ้ามี) |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องปฏิบัติการบำรุงรักษาขั้นสูง (ระดับการซ่อมแก้ไข) การเปลี่ยนขดลวดมอเตอร์ โดยต้องทราบถึงข้อหลักของการดำเนินการเปลี่ยนขดลวดมอเตอร์ ตรวจสอบ Rotor และอุปกรณ์ประกอบ ในระดับดังกล่าว (ก) คำแนะนำ ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องปฏิบัติการบำรุงรักษาขั้นสูง (ระดับการซ่อมแก้ไข) การเปลี่ยนขดลวดมอเตอร์ โดยต้องทราบถึงข้อหลักของการดำเนินการเปลี่ยนขดลวดมอเตอร์ การตรวจสอบ Rotor และอุปกรณ์ประกอบ ในระดับดังกล่าว (ข) คำอธิบายรายละเอียด
2. ตรวจสอบ Rotor และอุปกรณ์ประกอบ
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
18.1 เครื่องมือประเมิน เปลี่ยนขดลวด Stator มอเตอร์ไฟฟ้า
18.2 เครื่องมือประเมิน การตรวจสอบ Rotor และอุปกรณ์ประกอบ
|