หน่วยสมรรถนะ
ให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น
สาขาวิชาชีพการบรรเทาสาธารณภัย
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | DPM---2-003ZB |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ให้ความช่วยเหลือเบื้องต้น |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
ISCO 2211 General practitioner ISCO 2212 Emergency medicine specialist ISCO 2221 พยาบาลวิชาชีพ ISCO 2240 ผู้ช่วยแพทย์ Paramedical practitioners ISCO 3256 Medical assistant ISCO 3258 Emergency paramedic |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
บุคคลที่ทำหน้าที่ปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ วัดสัญญาณชีพและการเฝ้าตรวจติดตาม รู้ขั้นตอนช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉิน ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจได้ ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่พบบ่อยได้ ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีปฏิกิริยาแพ้และผู้ได้พิษ ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินเบาหวานที่มีภาวะฉุกเฉิน ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินทางสุขภาพจิต ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวชดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินโรคติดเชื้อและโรคอุบัติใหม่ดูแลเบื้องต้นในผู้ได้รับบาดเจ็บวิธีพยาธิสรีรวิทยาในภาวะฉุกเฉิน เข้าใจจิตวิทยา |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
อาสาฉุกเฉินการแพทย์ พนักงานฉุกเฉินการแพทย์ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.๒๕๕๑ |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC |
---|---|---|
101131 วัดสัญญาณชีพและการเฝ้าตรวจติดตามได้อย่างถูกต้อง | 1. ปฏิบัติการวัดสัญญาณชีพได้อย่างถูกต้อง | 101131.01 |
101131 วัดสัญญาณชีพและการเฝ้าตรวจติดตามได้อย่างถูกต้อง | 2. เฝ้าตรวจติดตามได้อย่างถูกต้อง | 101131.02 |
101132 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจได้อย่างถูกต้อง | 1. ประเมินเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง | 101132.01 |
101132 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจได้อย่างถูกต้อง | 2. ตรวจสอบความรู้สึกตัว ระดับความรู้สึกตัวได้อย่างถูกต้อง | 101132.02 |
101132 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจได้อย่างถูกต้อง | 3. ตรวจสอบทางเดินหายใจผู้ป่วยพูดออกเสียงได้อย่างถูกต้อง | 101132.03 |
101132 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจได้อย่างถูกต้อง | 4. ตรวจสอบสิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจ ผู้ป่วยพูดออกเสียงได้อย่างถูกต้อง | 101132.04 |
101132 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจได้อย่างถูกต้อง | 5 ตรวจสอบอัตราการหายใจได้อย่างถูกต้อง | 101132.05 |
101132 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจได้อย่างถูกต้อง | 6. ตรวจสอบระบบไหลเวียนเลือด อัตราการเต้นของหัวใจได้อย่างถูกต้อง | 101132.06 |
101132 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจได้อย่างถูกต้อง | 7. ตรวจวัดเลือดฝอยไหลกลับผิดปกติได้อย่างถูกต้อง | 101132.07 |
101133 ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้น | 1. อธิบายวิธีประเมินเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง | 101133.01 |
101133 ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้น | 2. ตรวจสอบความรู้สึกตัว ระดับความรู้สึกตัวได้อย่างถูกต้อง | 101133.02 |
101133 ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้น | 3. ตรวจสอบทางเดินหายใจผู้ป่วยพูดออกเสียงได้อย่างถูกต้อง | 101133.03 |
101133 ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้น | 4. ตรวจสอบสิ่งแปลกปลอมอุดกั้นทางเดินหายใจได้อย่างถูกต้อง | 101133.04 |
101133 ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้น | 5. ตรวจสอบอัตราการหายใจได้อย่างถูกต้อง | 101133.05 |
101133 ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้น | 6. ตรวจสอบระบบไหลเวียนเลือด อัตราการเต้นของหัวใจได้อย่างถูกต้อง | 101133.06 |
101133 ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินเบื้องต้น | 7. ตรวจวัดเลือดฝอยไหลกลับผิดปกติได้อย่างถูกต้อง | 101133.07 |
101134 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจได้อย่างถูกต้อง | 1. อธิบายลักษณะทางกายวิภาคและพยาธิสรีรวิทยาของระบบหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างถูกต้อง | 101134.01 |
101134 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจได้อย่างถูกต้อง | 2. อธิบายกลไกการเกิดโรคหรือภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างถูกต้อง | 101134.02 |
101134 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจได้อย่างถูกต้อง | 3. ประเมินและให้การวินิจฉัยผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างถูกต้อง | 101134.03 |
101134 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจได้อย่างถูกต้อง | 4. ให้การรักษาเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ แก่ผู้ป่วยมีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างถูกต้อง | 101134.04 |
101135 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่พบบ่อย | 1. อธิบายวิธีปฏิบัติและประเมินและดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง | 101135.01 |
101135 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่พบบ่อย | 2. ปฎิบัติตามการดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินได้อย่างถูกต้อง | 101135.02 |
101136 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด | 1. อธิบายลักษณะทางกายวิภาคและพยาธิสรีรวิทยาของระบบหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างถูกต้อง | 101136.01 |
101136 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด | 2. อธิบายกลไกการเกิดโรคหรือภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างถูกต้อง | 101136.02 |
101136 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด | 3. ประเมินและให้การวินิจฉัยผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างถูกต้อง | 101136.03 |
101136 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด | 4. ให้การรักษาเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ แก่ผู้ป่วยมีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับระบบหัวใจและหลอดเลือดได้อย่างถูกต้อง | 101136.04 |
101137 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท | 1. อธิบายลักษณะทางกายวิภาคและพยาธิสรีรวิทยาของระบบประสาท | 101137.01 |
101137 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท | 2. อธิบายกลไกการเกิดโรคหรือภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับระบบประสาท | 101137.02 |
101137 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท | 3. ประเมินและให้การวินิจฉัยผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับระบบประสาท | 101137.03 |
101137 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท | 4. ให้การรักษาเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ แก่ผู้ป่วยมีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับระบบประสาท | 101137.04 |
101138 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีปฏิกิริยาแพ้และผู้ได้พิษ | 1. อธิบายกลไกการเกิดโรคหรือภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับปฏิกิริยาแพ้และผู้ได้พิษ | 101138.01 |
101138 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีปฏิกิริยาแพ้และผู้ได้พิษ | 2. ประเมินและวินิจฉัยผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับปฏิกิริยาแพ้และผู้ได้พิษ | 101138.02 |
101138 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีปฏิกิริยาแพ้และผู้ได้พิษ | 3. ให้การรักษาเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ แก่ผู้ป่วยมีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับปฏิกิริยาแพ้และผู้ได้พิษได้ | 101138.03 |
101139 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินเบาหวานที่มีภาวะฉุกเฉิน | 1.อธิบายลักษณะทางกายวิภาคและพยาธิสรีรวิทยาของผู้ป่วยฉุกเฉินเบาหวาน | 101139.01 |
101139 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินเบาหวานที่มีภาวะฉุกเฉิน | 2. อธิบายกลไกการเกิดโรคหรือภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับผู้ป่วยฉุกเฉินเบาหวาน | 101139.02 |
101139 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินเบาหวานที่มีภาวะฉุกเฉิน | 3. ประเมินและให้การวินิจฉัยผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับผู้ป่วยฉุกเฉินเบาหวาน | 101139.03 |
101139 ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินเบาหวานที่มีภาวะฉุกเฉิน | 4. ให้การรักษาเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ แก่ผู้ป่วยมีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับผู้ป่วยฉุกเฉินเบาหวาน | 101139.04 |
10113A ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินทางสุขภาพจิต | 1. ประเมินและวินิจฉัยผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับผู้ป่วยฉุกเฉินทางสุขภาพจิตได้ | 10113A.01 |
10113A ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินทางสุขภาพจิต | 2 . ให้การรักษาเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ แก่ผู้ป่วยมีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับผู้ป่วยฉุกเฉินทางสุขภาพจิตได้ | 10113A.02 |
10113B ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวช | 1. อธิบายลักษณะทางกายวิภาคและพยาธิสรีรวิทยาของผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวช | 10113B.01 |
10113B ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวช | 2. อธิบายกลไกการเกิดโรคหรือภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวช | 10113B.02 |
10113B ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวช | 3. ประเมินและวินิจฉัยผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวช | 10113B.03 |
10113B ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวช | 4. ให้การรักษาเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ แก่ผู้ป่วยมีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวช | 10113B.04 |
10113C ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินโรคติดเชื้อและโรคอุบัติใหม่ | 1. อธิบายลักษณะทางกายวิภาคและพยาธิสรีรวิทยาของโรคติดเชื้อและโรคอุบัติใหม่ | 10113C.01 |
10113C ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินโรคติดเชื้อและโรคอุบัติใหม่ | 2. อธิบายกลไกการเกิดโรคหรือภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับโรคติดเชื้อและโรคอุบัติใหม่ | 10113C.02 |
10113C ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินโรคติดเชื้อและโรคอุบัติใหม่ | 3. ประเมินและให้การวินิจฉัยผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับโรคติดเชื้อและโรคอุบัติใหม่ | 10113C.03 |
10113D ดูแลเบื้องต้นในผู้ได้รับบาดเจ็บ | 1 ดูแลเบื้องต้นในผู้ได้รับบาดเจ็บได้อย่างถูกต้องและครบถ้วน | 10113D.01 |
10113D ดูแลเบื้องต้นในผู้ได้รับบาดเจ็บ | 2 ปฎิบัติการเบื้องต้นในผู้ได้รับบาดเจ็บได้อย่างถูกต้องครบถ้วน | 10113D.02 |
10113E ปฎิบัติวิธีพยาธิสรีรวิทยาในภาวะฉุกเฉิน | 1. อธิบายลักษณะทางกายวิภาคและพยาธิสรีรวิทยาในภาวะฉุกเฉินได้ | 10113E.01 |
10113E ปฎิบัติวิธีพยาธิสรีรวิทยาในภาวะฉุกเฉิน | 2. ประเมินและให้การวินิจฉัยผู้ป่วยที่มีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับพยาธิสรีรวิทยาในภาวะฉุกเฉินได้ | 10113E.02 |
10113E ปฎิบัติวิธีพยาธิสรีรวิทยาในภาวะฉุกเฉิน | 3. ให้การรักษาเบื้องต้น ณ จุดเกิดเหตุ แก่ผู้ป่วยมีภาวะฉุกเฉินทางอายุรกรรมที่เกี่ยวกับพยาธิสรีรวิทยาในภาวะฉุกเฉินได้ | 10113E.03 |
10113F อธิบายความรู้จิตวิทยาทั่วไป | 1.อธิบายหลักการจิตวิทยาทั่วไปได้ | 10113F.01 |
10113F อธิบายความรู้จิตวิทยาทั่วไป | 2.อธิบายวิธีวิเคราะห์จิตวิทยาทั่วไป ได้ | 10113F.02 |
10113F อธิบายความรู้จิตวิทยาทั่วไป | 3.อธิบายวิธีประยุกต์จิตวิทยาทั่วไปใช้กับงานบริการการแพทย์ฉุกเฉินได้ | 10113F.03 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
ประกาศนียบัตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ประกาศนียบัตรการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประกาศนียบัตรอาสาฉุกเฉินการแพทย์ ประกาศนียบัตรพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ ทักษะเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินทั่วไป ทักษะเกณฑ์และวิธีปฏิบัติในภาวะฉุกเฉินวิกฤต ทักษะเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินตามกลุ่มอาการโรคในภาวะฉุกเฉินการแพทย์ ทักษะเกณฑ์และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินตามกลุ่มอาการโรคในภาวะฉุกเฉินจากการบาดเจ็บ (ข) ความต้องการด้านความรู้ ความรู้เกณฑ์และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินทั่วไป ความรู้เกณฑ์และวิธีปฏิบัติในภาวะฉุกเฉินวิกฤต ความรู้เกณฑ์และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินตามกลุ่มอาการโรคในภาวะฉุกเฉินการแพทย์ ความรู้เกณฑ์และวิธีปฏิบัติการฉุกเฉินตามกลุ่มอาการโรคในภาวะฉุกเฉินจากการบาดเจ็บ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) ประกาศนียบัตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น ประกาศนียบัตรการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน ประกาศนียบัตรอาสาฉุกเฉินชุมชน ประกาศนียบัตรอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ ประกาศนียบัตรพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) หลักสูตรประกาศนียบัตรการปฐมพยาบาลเบื้องต้น หลักสูตรประกาศนียบัตรการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน หลักสูตรหลักสูตรอาสาฉุกเฉินชุมชน หลักสูตรประกาศนียบัตรอาสาสมัครฉุกเฉินการแพทย์ หลักสูตรประกาศนียบัตรพนักงานฉุกเฉินการแพทย์ (ค) คำแนะนำในการประเมิน ประเมินโดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติและหลักฐานความรู้ (ง) วิธีการประเมิน 1.ทดสอบข้อเขียน ปรนัย 4 ตัวเลือก 2.สอบสัมภาษณ์ 3.สาธิตการปฏิบัติงาน |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ N/A (ข) อธิบายวิธีรายละเอียด วัดสัญญาณชีพและการเฝ้าตรวจติดตาม รู้ขั้นตอนช่วยฟื้นคืนชีพขั้นพื้นฐาน วัดสัญญาณชีพได้ ดูแลผู้ป่วยฉุกเฉินได้ ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบทางเดินหายใจได้ ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่พบบ่อยได้ ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินในระบบหัวใจและหลอดเลือด ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินทางระบบประสาท ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีปฏิกิริยาแพ้และผู้ได้พิษ ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินเบาหวานที่มีภาวะฉุกเฉิน ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินทางสุขภาพจิต ดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินที่มีภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวชดูแลเบื้องต้นในผู้ป่วยฉุกเฉินโรคติดเชื้อและโรคอุบัติใหม่ดูแลเบื้องต้นในผู้ได้รับบาดเจ็บวิธีพยาธิสรีรวิทยาในภาวะฉุกเฉิน เข้าใจจิตวิทยา |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1.ทดสอบข้อเขียน ปรนัย 4 ตัวเลือก 2.สอบสัมภาษณ์ 3.สาธิตการปฏิบัติงาน |