หน่วยสมรรถนะ
สามารถให้บริการทาสี ต่อเล็บ ล้างสี ถอดสี ถอดเล็บ แต่ละประเภท
สาขาวิชาชีพธุรกิจเสริมสวยและเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | HDS-BUE-3-109ZB |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | สามารถให้บริการทาสี ต่อเล็บ ล้างสี ถอดสี ถอดเล็บ แต่ละประเภท |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / - |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
mso-fareast-font-family:"Times New Roman";mso-fareast-theme-font:minor-fareast; |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
สามารถให้บริการเตรียมหน้าเล็บ ตัดหนัง ดุนหนังแก้ไขปัญหา ซ่อมแซมเล็บและตะไบตกแต่งทรงเล็บที่เหมาะสมแก่ผู้รับบริการเพื่อพร้อมสำหรับการบริการในลำดับถัดไป |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
เสริมสวย |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
ช่างตกแต่งเล็บ |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
• กฎกระทรวง กำหนดมาตรฐานในการบริการ จัดการ และดำเนินการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานเกี่ยวกับสารเคมีอันตราย พ.ศ. ๒๕๕๖• ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง แบบบัญชีรายชื่อสารเคมีอันตรายและรายละเอียดข้อความปลอดภัยของสารเคมีอันตราย• ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง กิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๖๐• พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข พ.ศ. ๒๕๓๕• พระราชบัญญัติ การสาธารณสุข (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๐• พระราชบัญญัติ สถานประกอบการเพื่อสุขภาพ พ.ศ. ๒๕๕๙• พระราชบัญญัติ เครื่องสำอาง พ.ศ. ๒๕๕๘• สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก.• หลักการยศาสตร์ของผู้ให้บริการ |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
19121 ทาสีธรรมดา สีกึ่งเจล และสีเจล | 1. รู้วิธีการใช้วัสดุ อุปกรณ์และผลิตภัณฑ์สำหรับเตรียมหน้าเล็บ ตัดหนังและดุนหนังอย่างถูกต้องปลอดภัย | 19121.01 | 123332 |
19121 ทาสีธรรมดา สีกึ่งเจล และสีเจล | 2. ให้บริการตามลำดับขั้นตอนอย่างถูกสุขอนามัย | 19121.02 | 123333 |
19122 ล้างสี ถอดสี ถอดเล็บ แต่ละประเภท | 1. รู้ลักษณะของทรงเล็บแต่ละประเภท | 19122.01 | 123334 |
19122 ล้างสี ถอดสี ถอดเล็บ แต่ละประเภท | 2. สามารถแก้ไขปัญหาและซ่อมแซมเล็บ | 19122.02 | 123335 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
mso-fareast-font-family:"Times New Roman";mso-fareast-theme-font:minor-fareast; |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ "TH SarabunPSK",sans-serif;mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; (ข) ความต้องการด้านความรู้ "TH SarabunPSK",sans-serif;mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน และทักษะความรู้ที่ต้องการ |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |||||||||||||
(ข) คำอธิบายรายละเอียด การเตรียมเล็บธรรมชาติ คือ การทำความสะอาดและตกแต่งหน้าเล็บเพื่อความสวยงาม ให้พร้อมสำหรับบริการทาสี ต่อเล็บ หรือ ออกแบบลวดลายบนเล็บ ขั้นตอนของการเตรียมหน้าเล็บ คือ การล้างทำความสะอาดมือหรือเท้าของผู้รับบริการ นำอุปกรณ์ที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วออกมาใช้ สามารถใช้ผลิตภัณฑ์ช่วยให้บริเวณโคนเล็บอ่อนตัวและหลุดลอก ส่วนมากจะประกอบด้วยสาร NaOH/ KOH/ Lactic Acid จากนั้นใช้อุปกรณ์ดุนหนังบริเวณ Cuticle ของเล็บ เช็ดทำความสะอาดหน้าเล็บให้เรียบร้อย รูปทรงเล็บตามเล็บธรรมชาติมีหลากหลายรูปแบบ สามารถจำแนกออกมาได้ ดังนี้ Oval (ทรงรี) ลักษณะคล้ายรูปไข่ Square (ทรงเหลี่ยม) ลักษณะคล้ายสี่เหลี่ยม Squoval (ทรงเหลี่ยมมน) ลักษณะปลายเล็บตรง ขอบเล็บทั้งสองข้างมน Round (ทรงโค้งมน) ลักษณะคล้ายครึ่งวงกลม และ Pointed (ทรงแหลม) ลักษณะแหลมและเรียวเล็ก เป็นต้น ในปัจจุบันตะไบเล็บมีหลากหลายประเภทและรูปทรง เพื่อให้เหมาะกับการใช้งานที่แตกต่างกัน เช่น ตะไบทราย ตะไบฟองน้ำ ตะไบแก้ว ตะไบเหล็ก ฯลฯ ทั้งนี้ในตะไบมีความหยาบหรือละเอียด เรียกว่า กริท (Grit) ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
การสังเกตสภาวะสุขภาพ อาจไม่สามารถระบุอาการของโรคได้จำเป็นต้องตรวจรักษาด้วยแพทย์ ทั้งนี้ลักษณะปัญหาของเล็บที่พบเจอบ่อยอาจะจำแนกได้ดังต่อนี้ 1) เล็บเปราะแตกง่าย ลักษณะเล็บแห้งกระด้าง เปราะ ร่อน ลอกและแตกเป็นชั้น พบได้บ่อยในคนสูงอายุ แช่น้ำบ่อย หรืออาจะเกิดจากการแพ้หรือสัมผัสสารเคมีเป็นเวลานาน 2) เล็บเปลี่ยนสี อาจเกิดจากสารเคมีหรือด่างทับทิม เล็บเป็นร่องหรือสัน ลักษณะผิวเล็บนูนเป็นสันยาว หรือปลายเล็บยกแอ่นเงยขึ้น มักพบในผู้สูงอายุ 50 ปีขึ้นไป บุคคลที่ล้างเครื่องมือในห้องทดลอง หรือบุคคลที่ขาดสารอาหาร ร่างกาอ่อนแอ 3) เล็บแยกจากพื้นเล็บ อาจเกิดจากการทำเล็บไม่ถูกวิธี 4) เกิดจุดขาวบนเล็บ อาจเกิดจากโคนเล็บได้รับการกระแทก หรืออาจะเกิดจากการทำเล็บไม่ถูกวิธี 5) เล็บเกิดจากการถูกกระแทก ทำให้เลือดฝอยใต้เล็บแตก มีเลือดคั่งบริเวณใต้เล็บ แลมีอาการปวด ถ้ากระแทกรุนแรงเล็บอาจแยกจากส่วนรองรับเล็บจนหลุดได้ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1. สอบข้อเขียน ปรนัย 4 ตัวเลือก |