หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ขยายกิจการธุรกิจเสริมสวยให้มีเครือข่ายธุรกิจอย่างยั่งยืน

สาขาวิชาชีพธุรกิจเสริมสวยและเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HDS-BBE-7-021ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ขยายกิจการธุรกิจเสริมสวยให้มีเครือข่ายธุรกิจอย่างยั่งยืน

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO 1211 ผู้จัดการด้านการบริการธุรกิจและการบริหารจัดการและการพาณิชย์
ISCO 1221 ผู้จัดการด้านการขาย การตลาด และการพัฒนาธุรกิจ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
สามารถขยายกิจการธุรกิจเสริมสวยให้กว้างขวางออกไปหรือขยายในรูปแบบแฟรนไชส์หรือขยายกิจการธุรกิจเสริมสวยไปยังต่างประเทศเป็นธุรกิจข้ามชาติ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
N/A

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
•    พระราชบัญญัติกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม•    กฎกระทรวงควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.2560•    ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์ มาตรการควบคุมการประกอบกิจการสักผิวหนังหรือเจาะส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย พ.ศ.2562•    คำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข•    ข้อบัญญัติท้องถิ่น หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการประกอบกิจการ•    พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ.2558    •    สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมผลิตภัณฑ์ที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก.

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
04111 ขยายกิจการธุรกิจเสริมสวยในรูปแบบแฟรนไชส์ 1. ขยายสาขากิจการธุรกิจเสริมสวยอย่างกว้างขวางอย่างยั่งยืน 04111.01 123042
04111 ขยายกิจการธุรกิจเสริมสวยในรูปแบบแฟรนไชส์ 2. ขยายกิจการธุรกิจเสริมสวยในรูปแบบแฟรนไชส์ให้เจริญเติบโตอย่างยั่งยืน 04111.02 123043
04112 ขยายกิจการธุรกิจเสริมสวยไปยังต่างประเทศเป็นธุรกิจข้ามชาติ 1. มีความรู้ด้านกฎหมายข้อบังคับในการทำธุรกิจเสริมสวยในต่างประเทศ 04112.01 123044
04112 ขยายกิจการธุรกิจเสริมสวยไปยังต่างประเทศเป็นธุรกิจข้ามชาติ 2. มีความรู้ในวัฒนธรรมข้ามชาติ (Cross Culture recognition) 04112.02 123045

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

mso-fareast-font-family:"Times New Roman";mso-fareast-theme-font:minor-fareast;
mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:EN-US;mso-bidi-language:TH">N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

"TH SarabunPSK",sans-serif;mso-fareast-font-family:"Times New Roman";
mso-fareast-theme-font:minor-fareast;mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:
EN-US;mso-bidi-language:TH" lang="TH">ทักษะการบริหารงานสาขาธุรกิจได้เป็นอย่างดี

(ข) ความต้องการด้านความรู้

"TH SarabunPSK",sans-serif;mso-fareast-font-family:"Times New Roman";
mso-fareast-theme-font:minor-fareast;mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:
EN-US;mso-bidi-language:TH" lang="TH">ความรู้ด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)
(ก)หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
N/A
(ข)หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
       N/A
(ค)คำแนะนำในการประเมิน
       N/A
(ง)วิธีการประเมิน
1. สอบข้อเขียน
2. สอบสัมภาษณ์
3. แฟ้มสะสมผลงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

คำอธิบายรายละเอียด
สามารถขยายธุรกิจเสริมสวยให้มีจำนวนมากขึ้น หรือสร้างระบบแฟรนไชส์ของธุรกิจเสริมสวย และมีความรู้เรื่องแฟรนไชส์ด้วยวิธีดังนี้   
•     จะต้องศึกษาทำความเข้าใจระบบแฟรนไชส์ให้ถ่องแท้ หลังจากที่มีสาขาธุรกิจมากพอสมควรแล้ว มีระบบการบริหารจัดการสาขาที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน ลูกค้าเข้าร้านไหนจะได้สินค้าและบริการรูปแบบเดียวกันหมด จนมีคนสนใจซื้อแฟรนไชส์ ต้องศึกษาทำความเข้าใจระบบแฟรนไชส์ให้รู้อย่างลึกซึ้งเสียก่อน แฟรนไชส์ซอร์รู้เรื่องระบบแฟรนไชส์อย่างแท้จริง แฟรนไชส์ซอร์ต้องรักในแบรนด์ตัวเอง ถือว่ามีความสำคัญอยู่ไม่น้อย หากคุณคิดจะทำแฟรนไชส์ให้มีมาตรฐาน เพราะความรักในแบรนด์สินค้าและบริการที่ตัวเองสร้างขึ้นมาแล้ว จะทำให้สามารถคัดเลือกแฟรนไชส์ซีที่มีมาตรฐานเข้ามาสู่ระบบแฟรนไชส์ได้อย่างมีคุณภาพ แฟรนไชส์ซีก็จะรักและหวงแหนในแบรนด์ มีกระบวนการคัดเลือกแฟรนไชส์ซี การทำธุรกิจแฟรนไชส์ไม่เหมือนกับการลงทุนทั่วๆไป ความทุ่มเทในการบริหารจัดการร้านให้ประสบความสำเร็จ มีความรู้ความเข้าใจระบบแฟรนไชส์เป็นอย่างดี อีกทั้งยังต้องไว้วางใจแฟรไชส์ซอร์ด้วย ดังนั้น แฟรนไชส์ซีที่เลือกเข้ามาต้องมีมาตรฐานด้วย ไม่ใช่เพียงแค่ที่มีเงินลงทุนอย่างเดียว แต่ไม่มีความรู้เรื่องระบบแฟรนไชส์ดีพอ
สร้างมาตรฐานให้แฟรนไชส์ซี อย่างที่ได้กล่าวไปแล้ว มาตรฐานแฟรนไชส์ที่จะเกิดขึ้นไม่ได้อยู่ที่เจ้าของแฟรนไชส์อย่างเดียว แต่ยังรวมถึงผู้ซื้อแฟรนไชส์ด้วย หลังจากที่ตัดสินใจขายแฟรนไชส์ไปแล้ว จะต้องมีระบบการอบรม การบริหารจัดการร้าน การทำบัญชี การสั่งซื้อสินค้าและวัตถุดิบ การให้บริการ รวมถึงระบบการปฏิบัติการต่างๆ ตามแบบร้านต้นแบบให้กับแฟรนไชส์ซีด้วย เพื่อสร้างมาตรฐานแฟรนไชส์ให้เป็นไปในทิศทางและรูปแบบเดียวกัน การรับรองมาตรฐานแฟรนไชส์ จากกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เมื่อกระบวนการแฟรนไชส์ทุกอย่างที่สร้างขึ้นมาได้มีรูปแบบและมาตรฐานเดียวกันแล้ว จะต้องยื่นเรื่องต่อกรมพัฒนาธุรกิจการค้าให้ส่งเจ้าหน้าที่ทำการประเมินระบบธุรกิจ แฟรนไชส์เพื่อขอรับการรับรองมาตรฐานแฟรนไชส์ ซึ่งจะส่งผลให้ธุรกิจแฟรนไชส์มีความน่าเชื่อมากขึ้น อาจจะนำไปสู่การขยายสาขาไปต่างประเทศก็ได้


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. สอบข้อเขียน
2. สอบสัมภาษณ์
3. แฟ้มสะสมผลงาน



ยินดีต้อนรับ