หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ประเมินผลประกอบการของธุรกิจเสริมสวย

สาขาวิชาชีพธุรกิจเสริมสวยและเสริมสร้างสุขภาพร่างกาย


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HDS-BBE-7-020ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ประเมินผลประกอบการของธุรกิจเสริมสวย

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO 1211 ผู้จัดการด้านการบริการธุรกิจและการบริหารจัดการและการพาณิชย์
ISCO 1221 ผู้จัดการด้านการขาย การตลาด และการพัฒนาธุรกิจ



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
วิเคราะห์อัตราการเจริญเติบโตทางการตลาดวิเคราะห์การขาย วิเคราะห์สัดส่วนในการครองตลาด วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายทางการตลาดวัดผลการทำงานโดยการวิเคราะห์ยอดขาย กำไร ส่วนครองตลาด Market share จัดทำงบประมาณงบกำไรขาดทุนวิเคราะห์ทางการเงิน

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
N/A

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
•    พระราชบัญญัติกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2535 และที่แก้ไขเพิ่มเติม•    กฎกระทรวงควบคุมสถานประกอบกิจการที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ พ.ศ.2560•    ประกาศกระทรวงสาธารณสุข หลักเกณฑ์ มาตรการควบคุมการประกอบกิจการสักผิวหนังหรือเจาะส่วนหนึ่งส่วนใดของร่างกาย พ.ศ.2562•    คำแนะนำคณะกรรมการสาธารณสุข•    ข้อบัญญัติท้องถิ่น หลักเกณฑ์และเงื่อนไขการประกอบกิจการ•    พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ.2558    •    สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์ที่มีพระราชกฤษฎีกากำหนดให้ต้องเป็นไปตามมาตรฐาน มอก.

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
03211 วิเคราะห์งบการเงิน วิเคราะห์ผลตอบแทนจากการลงทุน 1. วิเคราะห์รายละเอียดยอดขาย รายได้หักค่าใช้จ่าย ผลกำไร วิเคราะห์อัตราส่วนการเจริญเติบโตทางการตลาด วิเคราะห์ยอดขาย และสัดส่วนการครองตลาด 03211.01 123037
03211 วิเคราะห์งบการเงิน วิเคราะห์ผลตอบแทนจากการลงทุน 2. เข้าใจงบการเงิน งบกำไรขาดทุน และการวิเคราะห์อัตราส่วนทางการเงิน วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและผลตอบแทนจากการลงทุน 03211.02 123038
03212 กำกับดูแลการบริหารงานให้เป็นไปตามหลักจรรยาบรรณในวิชาชีพ 1. ใช้หลักจรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ 03212.01 123039
03212 กำกับดูแลการบริหารงานให้เป็นไปตามหลักจรรยาบรรณในวิชาชีพ 2. การรักษาความลับขององค์กร เก็บรักษาข้อมูลและการใช้ข้อมูลภายในองค์การ 03212.02 123040
03212 กำกับดูแลการบริหารงานให้เป็นไปตามหลักจรรยาบรรณในวิชาชีพ 3. ใช้หลักการปฏิบัติต่อลูกค้าอย่างมีความรับผิดขอบ 03212.03 123041

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

mso-fareast-font-family:"Times New Roman";mso-fareast-theme-font:minor-fareast;
mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:EN-US;mso-bidi-language:TH">N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

"TH SarabunPSK",sans-serif;mso-fareast-font-family:"Times New Roman";
mso-fareast-theme-font:minor-fareast;mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:
EN-US;mso-bidi-language:TH" lang="TH">ทักษะในการวิเคราะห์อัตราการเจริญเติบโตทางการตลาด
วิเคราะห์การขาย วิเคราะห์สัดส่วนในการครองตลาด วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายทางการตลาด
วัดผลการทำงานโดยการวิเคราะห์ยอดขาย กำไร ส่วนครองตลาด
"Times New Roman";mso-fareast-theme-font:minor-fareast;mso-ansi-language:EN-US;
mso-fareast-language:EN-US;mso-bidi-language:TH">Market share จัดทำงบประมาณงบกำไรขาดทุน
วิเคราะห์ทางการเงิน

(ข) ความต้องการด้านความรู้

"TH SarabunPSK",sans-serif;mso-fareast-font-family:"Times New Roman";
mso-fareast-theme-font:minor-fareast;mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:
EN-US;mso-bidi-language:TH" lang="TH">ความรู้ในการ วิเคราะห์อัตราการเจริญเติบโตทางการตลาด
วิเคราะห์การขาย วิเคราะห์สัดส่วนในการครองตลาด วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายทางการตลาด วัดผลการทำงานโดยการวิเคราะห์ยอดขาย
กำไร ส่วนครองตลาด
mso-fareast-font-family:"Times New Roman";mso-fareast-theme-font:minor-fareast;
mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language:EN-US;mso-bidi-language:TH">Market
share จัดทำงบประมาณงบกำไรขาดทุน วิเคราะห์ทางการเงิน
และมีจรรยาบรรณ ความรับผิดชอบต่อสังคม


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)
(ก)หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence
N/A
(ข)หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
       N/A
(ค)คำแนะนำในการประเมิน
       N/A
(ง)วิธีการประเมิน
1. สอบข้อเขียน
2. สอบสัมภาษณ์
3. แฟ้มสะสมผลงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

1.    คำอธิบายรายละเอียด
          สามารถวิเคราะห์ทางการเงิน วิเคราะห์อัตราการเจริญเติบโตทางการตลาด วิเคราะห์การขาย วิเคราะห์สัดส่วนในการครองตลาด วิเคราะห์ค่าใช้จ่ายทางการตลาด วัดผลการทำงานโดยการวิเคราะห์ยอดขาย กำไร ส่วนครองตลาด Market share จัดทำงบประมาณงบกำไรขาดทุน วิเคราะห์ทางการเงิน จรรยาบรรณในการดำเนินธุรกิจ. กำหนดขอบเขต มาตรฐานความประพฤติ การรักษาความลับ การเก็บรักษาข้อมูลและการใช้ข้อมูลภายในการปฏิบัติต่อลูกค้าที่ดี มีความรับผิดชอบต่อสังคม
สร้างคุณค่าในตัวสินค้าหรือบริการ Value Proposition (VP) คุณค่านำเสนอต่อลูกค้า และคุณค่าที่ลูกค้าต้องการ  เป็นการส่งมอบคุณค่าให้สอดรับกับความต้องการลูกค้า โดยคำนึงถึงส่วนผสมทางการตลาด (Marketing Mix) หรือ 7P ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่
Product - สินค้า หรือบริการ โดยพิจารณาจากการตอบสนองความต้องการของลูกค้า
Price - ความเหมาะสมของราคา กับคุณค่าที่ลูกค้าจะได้รับ เมื่อเปรียบเทียบกับคู่แข่งขันอื่นๆ
Place - สถานที่จัดจำหน่าย หรือช่องทางในการจัดจำหน่าย ซึ่งจะพิจารณาจากความสะดวกและปริมาณของลูกค้า
Promotion - การส่งเสริมการขาย ที่จะทำให้เกิดแรงจูงใจในการซื้อสินค้า
People - ความรู้ความสามารถ และความน่าเชื่อถือของบุคลกร
Physical Evidence - สิ่งที่ปรากฏต่อสายตาลูกค้า เช่น สี รูปร่าง แพ็คเกจ บรรยากาศภายในร้าน เป็นต้น
Process - กระบวนการในการจัดการด้านการบริการ ที่จะทำให้ลูกค้าเกิดความประทับใจ และเกิดความภักดีในตัวสินค้า
          มีการประเมินผลการปฏิบัติงานด้วยการวิเคราะห์มุมมอง 4 ด้าน Balanced Scorecard คือระบบการบริหารงานและประเมินผลทั่วทั้งองค์กร และไม่ใช่เฉพาะเป็นระบบการ วัดผลเพียงอย่างเดียว แต่จะเป็นการกําหนดวิสัยทัศน์ (vision) และแผนกลยุทธ์ (strategic plan) แล้ว แปลผลลงไปสู่ทุกจุดขององค์กรเพื่อใช้เป็นแนวทางในการดําเนินงานของแต่ละฝายงานและแต่ละคน โดยระบบของ Balanced Scorecard จะเป็นการจัดหาแนวทางแก้ไขและปรับปรุงการดําเนินงาน โดย พิจารณาจากผลที่เกิดขึ้นของกระบวนการทํางานภายในองค์กร และผลกระทบจากลูกค้าภายนอกองค์กรมา นํามาปรับปรุงสร้างกลยุทธ์ให้มีประสิทธิภาพดีและประสิทธิผลดียิ่งขึ้น
ในการพัฒนาองค์กรนั้น สามารถวัด และ ประเมินได้จากการมองผานมุมมองของระบบการวัดและประเมินผลใน 4 ด้านหลัก คือ
1. มุมมองด้านการเงิน (Financial Perspective; F)
2. มุมมองด้านลูกค้า (Customer Perspective; C)
3. มุมมองด้านการดําเนินการภายใน (Internal Perspective; I)
4. มุมมองด้านการเรียนรู้และพัฒนาการ (Learning and Growth; L)
ดังนั้น BSC จึงเป็นเสมือนเครื่องมือหรือกลไกในการวางแผนและบริหารกลยุทธ์ที่มีการ กําหนดมุมมองทั้ง 4 ด้าน เพื่อให้เกิดความสมดุลในการพัฒนาองค์กร จนบรรลุแผนกลยุทธ์ที่ได้วางไวในที่สุด


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. สอบข้อเขียน
2. สอบสัมภาษณ์
3. แฟ้มสะสมผลงาน



ยินดีต้อนรับ