หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ศึกษาผลการใช้บทเรียน

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมดิจิทัล


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ ICT-OCOO-084B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ศึกษาผลการใช้บทเรียน

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
       เป็นผู้ที่สามารถกำหนดวิธีการวิเคราะห์ผลการใช้บทเรียน  วิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียน  วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิเคราะห์พัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ประเมินความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียนไปใช้ในการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ และนำองค์ความรู้ หรือนวัตกรรมไปแก้ปัญหาที่ซับซ้อนได้ ต้องใช้ทักษะในการวางแผนเชิงกลยุทธ์ และบริหารจัดการ โดยการนำนวัตกรรมมาพัฒนาระบบ และสร้างเครื่องมือในการศึกษา

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
นักวิจัย, นักวิชาการด้านการศึกษา

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ไม่มี

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ไม่มี

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
51603.01 กำหนดวิธีการวิเคราะห์ผลการใช้บทเรียน 1.1 กำหนดวิธีการศึกษาผลการใช้บทเรียนตามจุดมุ่งหมาย 51603.01.01 120437
51603.01 กำหนดวิธีการวิเคราะห์ผลการใช้บทเรียน 1.2 กำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาผลการใช้บทเรียน 51603.01.02 120438
51603.01 กำหนดวิธีการวิเคราะห์ผลการใช้บทเรียน 1.3 กำหนดสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ผลการใช้บทเรียนตามจุดมุ่งหมาย 51603.01.03 120439
51603.02 วิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียน 2.1 กำหนดวิธีการประเมินประสิทธิภาพของบทเรียน 51603.02.01 120431
51603.02 วิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียน 2.2 สร้างเครื่องมือในการศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียนที่มีคุณภาพ 51603.02.02 120432
51603.02 วิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียน 2.3 คำนวนประสิทธิภาพของบทเรียน 51603.02.03 120433
51603.02 วิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียน 2.4 วิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียนตามจุดมุ่งหมาย 51603.02.04 120434
51603.03 วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.1 กำหนดวิธีการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 51603.03.01 120425
51603.03 วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.2 สร้างเครื่องมือในการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่มีคุณภาพ 51603.03.02 120426
51603.03 วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.3 คำนวนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 51603.03.03 120427
51603.03 วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3.4 วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 51603.03.04 120428
51603.04 วิเคราะห์พัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียน 4.1 กำหนดวิธีการศึกษาพัฒนาการ ทางการเรียนรู้ของผู้เรียนตามจุดมุ่งหมาย 51603.04.01 120418
51603.04 วิเคราะห์พัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียน 4.2 สร้างเครื่องมือในการศึกษาพัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีคุณภาพ 51603.04.02 120419
51603.04 วิเคราะห์พัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียน 4.3 คำนวนพัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียน 51603.04.03 120420
51603.04 วิเคราะห์พัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียน 4.4 วิเคราะห์พัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ตามเป้าหมาย 51603.04.04 120421
51603.05 วิเคราะห์ความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน 5.1 กำหนดวิธีการศึกษาความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน 51603.05.01 120412
51603.05 วิเคราะห์ความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน 5.2 สร้างเครื่องมือในการศึกษาความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียนที่มีคุณภาพ 51603.05.02 120413
51603.05 วิเคราะห์ความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน 5.3 วิเคราะห์ และประเมินความพึงพอใจ และความคิดเห็นของผู้เรียน 51603.05.03 120414

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

1. ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

2. ความรู้เกี่ยวกับการหาคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล

3. ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเกณฑ์ในการวัดและประเมินผล



13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. สามารถกำหนดวิธีการศึกษาผลการใช้บทเรียนตามจุดมุ่งหมาย

2. สามารถสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาผลการใช้บทเรียน

3. สามารถศึกษาผลการใช้บทเรียนตามจุดมุ่งหมาย

4. สามารถวิเคราะห์ผลการใช้บทเรียนตามจุดมุ่งหมาย

5. สามารถกำหนดวิธีการประเมินประสิทธิภาพของบทเรียน

6. สามารถสร้างเครื่องมือในการศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียน

7. สามารถศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียน

8. สามารถวิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียนตามจุดมุ่งหมาย

9. สามารถกำหนดวิธีการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

10. สามารถสร้างเครื่องมือในการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

11. สามารถศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

12. สามารถวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

13. สามารถกำหนดวิธีการศึกษาพัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียนตามจุดมุ่งหมาย

14. สามารถสร้างเครื่องมือในการศึกษาพัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีคุณภาพ

15. สามารถศึกษาพัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียน

16. สามารถวิเคราะห์พัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ตามเป้าหมาย

17.  สามารถกำหนดวิธีการศึกษาความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน

18.  สามารถสร้างเครื่องมือในการศึกษาความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน

19.  สามารถศึกษาความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน

20.  สามารถวิเคราะห์ความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน


(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับการกำหนดวิธีการศึกษาผลการใช้บทเรียนตามจุดมุ่งหมาย

2. ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาผลการใช้บทเรียน

3. ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาผลการใช้บทเรียนตามจุดมุ่งหมาย

4. ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลการใช้บทเรียนตามจุดมุ่งหมาย

5. ความรู้เกี่ยวกับการกำหนดวิธีการประเมินประสิทธิภาพของบทเรียน

6. ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเครื่องมือในการศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียน

7. ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียน

8. ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียนตามจุดมุ่งหมาย

9. ความรู้เกี่ยวกับการกำหนดวิธีการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

10. ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเครื่องมือในการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

11. ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

12. ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

13. ความรู้เกี่ยวกับการกำหนดวิธีการศึกษาพัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียนตามจุดมุ่งหมาย

14. ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเครื่องมือในการศึกษาพัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียนที่มีคุณภาพ

15. ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาพัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียน

16. ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์พัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ตามเป้าหมาย

17.  ความรู้เกี่ยวกับการกำหนดวิธีการศึกษาความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน

18.  ความรู้เกี่ยวกับการสร้างเครื่องมือในการศึกษาความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน

19.  ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน

20.  ความรู้เกี่ยวกับการวิเคราะห์ความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน



14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

   หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

   (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

       1. เอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น วิธีการวิเคราะห์ผลการใช้บทเรียน การศึกษาประสิทธิภาพของบทเรียน การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การศึกษาพัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียน การศึกษาความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน เป็นต้น

       2. แฟ้มสะสมผลงาน ได้แก่ ใบผ่านงาน ประกาศนียบัตร วุฒิบัตร หลักฐานการศึกษา และเอกสารผลงานต่างๆ ที่ เกี่ยวข้องกับสมรรถนะ

    (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

 1. การทำแบบทดสอบภาคทฤษฎี

         2. การบันทึกการสัมภาษณ์

 3. แฟ้มสะสมผลงาน ได้แก่ ใบผ่านงาน ประกาศนียบัตร วุฒิบัตร และเอกสารผลงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง

    (ค) คำแนะนำในการประเมิน

หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงสมรรถนะในส่วนนี้ ต้องมีความสำคัญและตอบสนองตามข้อกำหนดของสมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติ โดยต้องแสดงถึง

1. ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง

2. กระบวนการในการทำงานและข้อกำหนดต่าง ๆ

3. ขอบเขตด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

    (ง) วิธีการประเมิน

1. ทดสอบความรู้โดยใช้การสอบข้อเขียน การสัมภาษณ์ และพิจารณาเพิ่มเติมจากแฟ้มสะสมผลงาน

2. ทดสอบทักษะการปฏิบัติงานโดยใช้ใบสั่งงาน การสอบสัมภาษณ์และพิจารณาเพิ่มเติมจากแฟ้มสะสมผลงาน



15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ 

    ในการปฎิบัติงานให้คำนึงถึงการสร้างเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การหาคุณภาพเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การสร้างเกณฑ์ในการวัดและประเมินผล

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

    1. กำหนดวิธีการวิเคราะห์ผลการใช้บทเรียน หรือกำหนดเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาผลการใช้บทเรียน และการกำหนดสถิติที่จะนำมาใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล เช่นเครื่องมือวิเคราะห์ทางสถิติ

    2. การวิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียน ได้แก่ การนำคะแนนระหว่างเรียน คะแนนหลังเรียนมาทำการวิเคราะห์ตามเกณฑ์ที่กำหนด  

    3. การวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ได้แก่ การนำคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนมาทำการวิเคราะห์ค่าทางสถิติ 

    4. การวิเคราะห์พัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ได้แก่ การนำผลคะแนนก่อนการเรียนมาเปรียบเทียบกับหลังเรียน หรือดูจากปัจจัยอื่นที่แสดงเห็นถึงพัฒนาการทางการเรียน

    5. การวิเคราะห์ความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน ได้แก่ การใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ แล้วนำมาหาทางสถิติ ตั้งเกณฑ์การประเมิน



16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่มี

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
ไม่มี

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

      เครื่องมือและเกณฑ์ในการประเมิน ให้ดูจากคู่มือการประเมินซึ่งประกอบด้วย

      1. สมรรถนะย่อย 51603.01 กำหนดวิธีการวิเคราะห์ผลการใช้บทเรียน ให้ทำการทดสอบความรู้โดยใช้การสอบข้อเขียน และการสัมภาษณ์ ส่วนการทดสอบทักษะการปฏิบัติงานโดยใช้ใบสั่งงาน และพิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน

      2. สมรรถนะย่อย 51603.02 วิเคราะห์ประสิทธิภาพของบทเรียน ให้ทำการทดสอบความรู้โดยใช้การสอบข้อเขียน และการสัมภาษณ์ ส่วนการทดสอบทักษะการปฏิบัติงานโดยใช้ใบสั่งงาน และพิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน

      3. สมรรถนะย่อย 51603.03 วิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ให้ทำการทดสอบความรู้โดยใช้การสอบข้อเขียน และการสัมภาษณ์ ส่วนการทดสอบทักษะการปฏิบัติงานโดยใช้ใบสั่งงาน และพิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน

      4. สมรรถนะย่อย 51603.04 วิเคราะห์พัฒนาการทางการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้ทำการทดสอบความรู้โดยใช้การสอบข้อเขียน และการสัมภาษณ์ ส่วนการทดสอบทักษะการปฏิบัติงานโดยใช้ใบสั่งงาน และพิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน

      5. สมรรถนะย่อย 51603.05 วิเคราะห์ความพึงพอใจและความคิดเห็นของผู้เรียน ให้ทำการทดสอบความรู้โดยใช้การสอบข้อเขียน และการสัมภาษณ์ ส่วนการทดสอบทักษะการปฏิบัติงานโดยใช้ใบสั่งงาน และพิจารณาจากแฟ้มสะสมผลงาน




ยินดีต้อนรับ