หน่วยสมรรถนะ
บริหารจัดการระบบความมั่นคงปลอดภัยด้านเว็บไซต์
สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมดิจิทัล
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | ICT-PNWI-278B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | บริหารจัดการระบบความมั่นคงปลอดภัยด้านเว็บไซต์ |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
N/A
|
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
บุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการวางแผนเพื่อบริหารจัดการเว็บไซต์ได้อย่างมั่นคงปลอดภัย การตั้งค่าเครื่องบริการเว็บได้อย่างมั่นคงปลอดภัย การใช้โปรแกรมประยุกต์บนเครื่องบริการเว็บเพื่อให้บริการได้อย่างมั่นคงปลอดภัย การรับมือสถานการณ์ภัยคุกคามที่เกิดกับเว็บไซต์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
กลุ่มวิชาชีพอุตสาหกรรมดิจิทัล สาขาธุรกิจดิจิทัลและพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
20211 วางแผนเพื่อบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์ | 1. วางแผนงานด้านความมั่นคงปลอดภัยของเว็บไซต์ | 20211.05 | 121402 |
20211 วางแผนเพื่อบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์ | 2. คัดเลือกผู้รับจดทะเบียนชื่อโดเมน | 20211.06 | 121403 |
20211 วางแผนเพื่อบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์ | 3. คัดเลือกเครื่องบริการเว็บ | 20211.07 | 121404 |
20211 วางแผนเพื่อบริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยเว็บไซต์ | 4. คัดเลือกระบบบริหารจัดการเว็บไซต์ (CMS) | 20211.08 | 121405 |
20212 ตั้งค่าความมั่นคงปลอดภัยเครื่องบริการเว็บได้ | 1. กำหนดค่าคอนฟิกโปรแกรมสำหรับให้บริการเว็บ (Web server software) | 20212.06 | 121410 |
20212 ตั้งค่าความมั่นคงปลอดภัยเครื่องบริการเว็บได้ | 2. กำหนดค่าคอนฟิกระบบบริหารจัดการเว็บไซต์ (CMS) | 20212.07 | 121411 |
20212 ตั้งค่าความมั่นคงปลอดภัยเครื่องบริการเว็บได้ | 3. กำหนดค่าคอนฟิกระบบฐานข้อมูล (Database system) | 20212.08 | 121412 |
20212 ตั้งค่าความมั่นคงปลอดภัยเครื่องบริการเว็บได้ | 4. กำหนดค่าคอนฟิก Server-side Script Engine | 20212.09 | 121413 |
20212 ตั้งค่าความมั่นคงปลอดภัยเครื่องบริการเว็บได้ | 5. กำหนดและรักษารหัสผ่าน | 20212.10 | 121414 |
20213 ใช้โปรแกรมประยุกต์ความมั่นคงปลอดภัยบนเครื่องบริการเว็บเพื่อให้บริการ | 1. เลือกใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค SQL Injection | 20213.10 | 121422 |
20213 ใช้โปรแกรมประยุกต์ความมั่นคงปลอดภัยบนเครื่องบริการเว็บเพื่อให้บริการ | 2. เลือกใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค OS Command Injection | 20213.11 | 121423 |
20213 ใช้โปรแกรมประยุกต์ความมั่นคงปลอดภัยบนเครื่องบริการเว็บเพื่อให้บริการ | 3. เลือกใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค Unchecked Path Parameter | 20213.12 | 121424 |
20213 ใช้โปรแกรมประยุกต์ความมั่นคงปลอดภัยบนเครื่องบริการเว็บเพื่อให้บริการ | 4. เลือกใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค Improper Session Management | 20213.13 | 121425 |
20213 ใช้โปรแกรมประยุกต์ความมั่นคงปลอดภัยบนเครื่องบริการเว็บเพื่อให้บริการ | 5. เลือกใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค Cross-site Scripting | 20213.14 | 121426 |
20213 ใช้โปรแกรมประยุกต์ความมั่นคงปลอดภัยบนเครื่องบริการเว็บเพื่อให้บริการ | 6. เลือกใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค Cross-site Script Request Forgery (CSRF) | 20213.15 | 121427 |
20213 ใช้โปรแกรมประยุกต์ความมั่นคงปลอดภัยบนเครื่องบริการเว็บเพื่อให้บริการ | 7. เลือกใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค HTTP Header Injection | 20213.16 | 121428 |
20213 ใช้โปรแกรมประยุกต์ความมั่นคงปลอดภัยบนเครื่องบริการเว็บเพื่อให้บริการ | 8. เลือกใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค Mail Header Injection | 20213.17 | 121429 |
20213 ใช้โปรแกรมประยุกต์ความมั่นคงปลอดภัยบนเครื่องบริการเว็บเพื่อให้บริการ | 9. เลือกใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากการไม่มีระบบพิสูจน์ตัวจริงและการกำหนดสิทธิ์ (Lack of Authentication and authorization) | 20213.18 | 121430 |
20214 รับมือสถานการณ์ภัยคุกคามที่เกิดกับเว็บไซต์ | 1. เตรียมการรับมือภัยคุกคามที่เกิดขึ้นกับเว็บไซต์ | 20214.05 | 121433 |
20214 รับมือสถานการณ์ภัยคุกคามที่เกิดกับเว็บไซต์ | 2. เลือกใช้โปรแกรมตรวจสอบความมั่นคงปลอดภัยของเว็บไซต์ | 20214.06 | 121434 |
20214 รับมือสถานการณ์ภัยคุกคามที่เกิดกับเว็บไซต์ | 3. จัดเก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ | 20214.07 | 121435 |
20214 รับมือสถานการณ์ภัยคุกคามที่เกิดกับเว็บไซต์ | 4. สำรองข้อมูลเว็บไซต์ได้ | 20214.08 | 121436 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ปฏิบัติการวางแผนเพื่อบริหารจัดการเว็บไซต์ได้อย่างมั่นคงปลอดภัย 2. ปฏิบัติการตั้งค่าเครื่องบริการเว็บได้อย่างมั่นคงปลอดภัย 3. ปฏิบัติการใช้โปรแกรมประยุกต์บนเครื่องบริการเว็บเพื่อให้บริการได้อย่างมั่นคงปลอดภัย 4. ปฏิบัติการรับมือสถานการณ์ภัยคุกคามที่เกิดกับเว็บไซต์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ภัยคุกคาม มัลแวร์ การโจมตีเว็บไซต์ชนิดต่างๆ 2. การวางแผนและบริหารเพื่อป้องกัน ตรวจหา และโต้ตอบต่อภัยคุกคาม มัลแวร์ การโจมตีเว็บไซต์ชนิดต่างๆ 3. การบริหารระบบการให้บริการอีคอมเมิร์ซและเว็บไซต์ 4. กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการอีคอมเมิร์ซและเว็บไซต์ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. เอกสารรับรองการปฏิบัติงานหรือผลการประเมินการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ 2. เอกสารการประเมินจากการจำลองสถานการณ์โดยใช้กรณีศึกษา 3. เอกสารการประเมินการสัมภาษณ์ 4. แฟ้มสะสมผลงาน (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. เอกสารผ่านการอบรมเกี่ยวกับการบริหารระบบอีคอมเมิร์ซและเว็บไซต์ 2. เอกสาร วุฒิบัตร หรือใบรับรองที่แสดงว่าผ่านการทดสอบ (Certificate) ด้านการบริหารความมั่นคงเกี่ยวกับระบบคอมพิวเตอร์ทั้งแบบอิงและไม่อิงผลิตภัณฑ์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3. เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียนหรือผลการทดสอบความรู้ (ค) คำแนะนำในการประเมิน ประเมินเกี่ยวกับการบริหารระบบความมั่นคงปลอดภัยอีคอมเมิร์ซและเว็บไซต์ โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้ (ง) วิธีการประเมิน 1. พิจารณาหลักฐานความรู้ 2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่น ๆ หรือสถานการณ์อื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (ก) คำแนะนำ การบริหารระบบความมั่นคงปลอดภัยอีคอมเมิร์ซและเว็บไซต์ ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องแสดงการทดสอบเกี่ยวกับการวางแผนเพื่อบริหารจัดการเว็บไซต์ได้อย่างมั่นคงปลอดภัย การตั้งค่าเครื่องบริการเว็บได้อย่างมั่นคงปลอดภัย การใช้โปรแกรมประยุกต์บนเครื่องบริการเว็บเพื่อให้บริการได้อย่างมั่นคงปลอดภัย การรับมือสถานการณ์ภัยคุกคามที่เกิดกับเว็บไซต์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ (ข) คำอธิบายรายละเอียด 1. การวางแผนเพื่อบริหารจัดการเว็บไซต์ จะต้องจัดทำแผนด้านความมั่นคงปลอดภัยของเว็บไซต์ได้ตามมาตรฐานที่กำหนด เลือกผู้รับจดทะเบียนชื่อโดเมนได้อย่างเหมาะสมกับวัตถุประสงค์การใช้งาน หาแนวทางการเลือกรูปแบบเครื่องบริการเว็บได้อย่างมีประสิทธิภาพ และหาแนวทางการเลือกระบบบริหารจัดการเว็บไซต์ (CMS) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. การตั้งค่าเครื่องบริการเว็บ จะต้องตั้งค่าโปรแกรมสำหรับให้บริการเว็บ (Web server software) ได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ตั้งค่าระบบบริหารจัดการเว็บไซต์ (CMS) ได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ตั้งค่าฐานข้อมูล (Database system) ได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ตั้งค่า Server-side Script Engine ได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด และกำหนดและรักษารหัสผ่านได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด 3. การใช้โปรแกรมประยุกต์บนเครื่องบริการเว็บ จะต้องใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค SQL Injection ได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค OS Command Injection ได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค Unchecked Path Parameter ได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค Improper Session Management ได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค Cross-site Scripting ได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค Cross-site Script Request Forgery (CSRF) ได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค HTTP Header Injection ได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด ใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากเทคนิค Mail Header Injection ได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด และใช้โปรแกรมประยุกต์เพื่อป้องกันการโจมตีจากการไม่มีระบบพิสูจน์ตัวจริงและการกำหนดสิทธิ์ (Lack of Authentication and authorization) ได้เหมาะสมตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด 4. การรับมือสถานการณ์ภัยคุกคามที่เกิดกับเว็บไซต์ (Incident Handling) จะต้องรับมือภัยคุกคามที่เกิดขึ้นกับเว็บไซต์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ใช้โปรแกรมตรวจสอบความมั่นคงปลอดภัยของเว็บไซต์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เก็บรักษาข้อมูลจราจรทางคอมพิวเตอร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสำรองข้อมูลเว็บไซต์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5. ตามมาตรฐานที่กำหนด ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด และ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หมายถึง การปฏิบัติการที่สอดคล้องกับแนวปฏิบัติ ข้อกำหนด เกณฑ์ หรือมาตรฐานที่เกี่ยวข้องกับ เช่น ETDA Recommendation on ICT Standard for Electronic Transactions ขมธอ. 4 – 2559, NIST SP 800-44 Guidelines on Securing Public Web Servers, OWASP Open Web Application Security Project, ข้อกำหนดที่เกี่ยวข้องจากข้อแนะนำแก้ไขและป้องกันข้อบกพร่องหรือจุดอ่อนของเว็บไซต์ ของศูนย์ประสานการรักษาความมั่นคงปลอดภัยระบบคอมพิวเตอร์ประเทศไทย หรือไทยเซิร์ต (ThaiCERT), คู่มือ “How to Secure Your Website” ของ สำนักงานส่งเสริมเทคโนโลยีสารสนเทศ ประเทศญี่ปุ่น (Information-Technology Promotion Agency (IPA), Japan) เป็นต้น |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1. เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินการสัมภาษณ์ 3. แบบประเมินแฟ้มสะสมงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน 2 เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินการสัมภาษณ์ 3. แบบประเมินแฟ้มสะสมงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน 3 เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินการสัมภาษณ์ 3. แบบประเมินแฟ้มสะสมงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน 4 เครื่องมือการประเมิน 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 2. แบบประเมินการสัมภาษณ์ 3. แบบประเมินแฟ้มสะสมงาน ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน
|