หน่วยสมรรถนะ
ทบทวนกระบวนการสำหรับปรับปรุง
สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมดิจิทัล
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | ICT-GIGL-260B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ทบทวนกระบวนการสำหรับปรับปรุง |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ |
![]() |
ปรับปรุง |
![]() |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
107%;font-family:"TH SarabunPSK",sans-serif;mso-fareast-font-family:"Times New Roman"; mso-fareast-theme-font:minor-fareast;mso-ansi-language:EN-US;mso-fareast-language: EN-US;mso-bidi-language:TH" lang="TH">นักวิเคราะห์ข้อมูล (16.0pt;line-height:107%;font-family:"TH SarabunPSK",sans-serif;mso-fareast-font-family: "Times New Roman";mso-fareast-theme-font:minor-fareast;mso-ansi-language:EN-US; mso-fareast-language:EN-US;mso-bidi-language:TH">Data Analyst) นักวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจ (Business intelligence Analyst) และนักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Scientist) |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้ที่ผ่านสมรรถนะนี้จะสามารถระบุกระบวนการที่เกิดปัญหาขึ้นในโครงการวิเคราะห์ข้อมมูลขนาดใหญ่ โดยทำการทบทวนกระบวนการ หาความเชื่อมโยงของปัจจัยที่ส่งผลต่อการวิเคราะห์ รวมถึงจัดหาแนวทางเพื่อพัฒนากระบวนการให้เกิดประสิทธิภาพ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศการสื่อสารและดิจิทัลคอนเทนต์ สาขานักวิทยาศาสตร์ข้อมูล (Data Science) |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
70407.01 กำหนดปัจจัยการทบทวนกระบวนการ | 1. ระบุกระบวนการทำงานที่สำคัญได้ | 70407.01.04 | 121055 |
70407.01 กำหนดปัจจัยการทบทวนกระบวนการ | 2. อธิบายสถานะของกระบวนการทำงานที่สำคัญได้ | 70407.01.05 | 121056 |
70407.01 กำหนดปัจจัยการทบทวนกระบวนการ | 3. ระบุปัจจัยที่ต้องพิจารณาในกระบวนการทำงานเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพได้ | 70407.01.06 | 121057 |
70407.02 ทำรายการตรวจสอบกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล | 1. ระบุกระบวนทั้งหมดในการทำงานได้ | 70407.02.05 | 121058 |
70407.02 ทำรายการตรวจสอบกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล | 2. ระบุรายละเอียดของกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลได้ | 70407.02.06 | 121059 |
70407.02 ทำรายการตรวจสอบกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล | 3. อธิบายวัตถุประสงค์ของกระบวนการทำงานทุกขั้นตอนได้ | 70407.02.07 | 121060 |
70407.02 ทำรายการตรวจสอบกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูล | 4. กำหนดเกณฑ์การพิจารณาและข้อกำหนดในกระบวนการทำงานได้ | 70407.02.08 | 121061 |
70407.03 วิเคราะห์กระบวนการทำงาน | 1. ตรวจสอบสถานะของกระบวนการทำงานที่เกิดขึ้นได้ | 70407.03.04 | 121062 |
70407.03 วิเคราะห์กระบวนการทำงาน | 2. ระบุผลลัพธ์ที่คาดหวังในกระบวนการทำงานและผลที่ได้รับได้ | 70407.03.05 | 121063 |
70407.03 วิเคราะห์กระบวนการทำงาน | 3. ระบุลักษณะของปัญหาหรือกระบวนการที่เกิดขึ้นได้ | 70407.03.06 | 121064 |
70407.04 สรุปผลการทบทวนกระบวนการทำงาน | 1. สรุปสถานะของกระบวนการทำงานที่เกิดขึ้นได้ | 70407.04.04 | 121065 |
70407.04 สรุปผลการทบทวนกระบวนการทำงาน | 2. สรุปตัวแปรสำคัญในกระบวนการที่ทำให้เกิดปัญหาหรือควรปรับปรุงได้ | 70407.04.05 | 121066 |
70407.04 สรุปผลการทบทวนกระบวนการทำงาน | 3. สรุปที่มาของปัญหาหรือกระบวนการที่ต้องการปรับปรุงไได้ | 70407.04.06 | 121067 |
70407.05 ระบุแนวทางการดำเนินการปรับปรุงกระบวนการทำงาน | 1. กำหนดแนวทางดำเนินการแก้ไข/ปรับปรุงได้ | 70407.05.04 | 121068 |
70407.05 ระบุแนวทางการดำเนินการปรับปรุงกระบวนการทำงาน | 2. ระบุทรัพยากรในการดำเนินการได้ | 70407.05.05 | 121069 |
70407.05 ระบุแนวทางการดำเนินการปรับปรุงกระบวนการทำงาน | 3. สรุปแนวทางปรับปรุงกระบวนการได้ | 70407.05.06 | 121070 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1) ทักษะการวิเคราะห์กระบวนการทำงานแบบองค์รวม 2) ทักษะการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารและ 3) ทักษะการบริหารจัดการข้อมูล 4) ทักษะการวางแผนการทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1) ความรู้ด้านการศึกษากระบวนการทำงาน (Work Study and Improvement) 2) ความรู้ด้านการทำโครงการวิเคราะห์ข้อมูล (Big Data Project) 3) ความรู้ด้านการวิเคราะห์หาสาเหตุ (Root Cause Analysis) |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) อาทิ 1) ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) อาทิ 1) ใบรับรองการเข้ารับการฝึกอบรม 2) ใบประกาศนียบัตรวุฒิการศึกษา (ค) คำแนะนำในการประเมิน 1) ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการค้นหาแนวทางการปรับปรุงกระบวนการทำงาน โดยการทบทวนกระบวนการทำงานทั้งหมด หาสาเหตุ ปัจจัย ที่มีส่งผลต่อคุณภาพการทำงาน และสรุปรายละเอียดของขั้นตอนการทำงานที่มีอิทธิพลต่อปัจจัยสำคัญ โดยพิจารณาจากหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานทางความรู้ (ง) วิธีการประเมิน 1) พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน 2) พิจารณาตามหลักฐานความรู้ 3) พิจารณาจากกรณีตัวอย่าง |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ หน่วยสมรรถนะนี้เป็นการทดสอบการวิเคราะห์แนวทางพัฒนาโดยการทบทวนกระบวนการ โดยในการทดสอบต้องคำนึงถึงข้อปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1) ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสำคัญกับความปลอดภัยในการเก็บข้อมูลขณะทบทวนกระบวนการ 2) เจ้าหน้าที่สอบควรมีความเชี่ยวชาญด้านการปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานและเข้าใจถึงการวิเคราะห์แบบองค์รวม และมีความเชี่ยวชาญในโครงการการวิเคราะห์ข้อมูล (Big Data Project) 3) เจ้าหน้าที่สอบควรเตรียมความพร้อมก่อนการประเมิน เพื่อการทบทวนรายละเอียดกระบวนการได้ครอบคลุมทุกมิติ (ข) คำอธิบายรายละเอียด 1) การทบทวนกระบวนการเป็นส่วนหนึ่งของขั้นตอนการวิเคราะห์หาสาเหตุ (Root Cause Analysis) และปรับปรุงประสิทธิภาพทางธุรกิจ ซึ่งครอบคลุมถึงการทำโครงการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่เพื่อแก้ปัญหาทางธุรกิจเช่นกัน โดยการทบทวนกระบวนการเป็นสืบค้นข้อมูลในอดีตเพื่อค้นหาปัจจัยในแต่ละขั้นตอนการทำงานที่มีอิทธิพลต่อผลการวิเคราะห์ และนำมาปรับปรุงในครั้งถัดไป 2) การตั้งมิติการทบทวนกระบวนการเป็นมีผลต่อปัจจัยต่าง ๆ เช่น เป้าหมาย ปัญหาที่เกิดขึ้น ผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และทรัพยากร เป็นต้น เพื่อระบุเกณฑ์ในการทบทวนกระบวนการ รวมถึงตัวแปรที่ต้องพิจารณา 3) ทบทวนกระบวนการ Business Process improvement เพื่อแก้ปัญหา ข้อขัดข้อง ความสูญเสียทางธุรกิจ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
1. เครื่องมือประเมินการกำหนดปัจจัยการทบทวนกระบวนการตามข้อกำหนดมาตรฐาน 1. ผลข้อสอบข้อเขียน 2. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 2. เครื่องมือประเมินการทำรายการตรวจสอบกระบวนการวิเคราะห์ข้อมูลตามข้อกำหนดมาตรฐาน 1. ผลข้อสอบข้อเขียน 2. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 3. เครื่องมือประเมินการวิเคราะห์กระบวนการทำงานตามข้อกำหนดมาตรฐาน 1. ผลข้อสอบข้อเขียน 2. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 4. เครื่องมือประเมินการสรุปผลการทบทวนกระบวนการทำงานตามข้อกำหนดมาตรฐาน 1. ผลข้อสอบข้อเขียน 2. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 5. เครื่องมือประเมินการระบุแนวทางการดำเนินการปรับปรุงกระบวนการทำงานตามข้อกำหนดมาตรฐาน 1. ผลข้อสอบข้อเขียน 2. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน |