หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

การดำเนินการของธุรกิจ IT

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมดิจิทัล


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ ICT-BBCE-269B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ การดำเนินการของธุรกิจ IT

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

นักวิเคราะห์ข้อมูลธุรกิจ (Business Intelligence Analyst)

ผู้ปฏิบัติงานด้านวิศวกรรมข้อมูล สถาปนิกสารสนเทศ (Information Architect)

ผู้ให้คำปรึกษาด้าน IT

 


1 1330 ผู้จัดการด้านการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
1 2519 นักวิเคราะห์และพัฒนาซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ ซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น
1 2521 นักออกแบบและผู้บริหารฐานข้อมูล
1 2522 ผู้บริหารระบบงานคอมพิวเตอร์

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
    เป็นผู้ที่มีความเข้าใจและสามารถอธิบายกระบวนการทางธุรกิจ IT การบริการของธุรกิจ IT และสามารถอธิบายวิธีการและประเมินผลการปฏิบัติงานของธุรกิจ IT ได้

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
   1330 ผู้จัดการด้านการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร       สาขาวิชาชีพเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ผู้ที่มีความรู้ทางด้านธุรกิจและความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และครอบคลุมในทุกสาขาธุรกิจที่มีการนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงาน 

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
นักจัดการเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับธุรกิจนักจัดการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ 

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
ITB31 กระบวนการทางธุรกิจ IT (IT Business Process) 1.1 สามารถอธิบายองค์ประกอบของกระบวนการธุรกิจ IT ได้ (Able to explain components of IT business process) ITB31.03 120757
ITB31 กระบวนการทางธุรกิจ IT (IT Business Process) 1.2 สามารถอธิบายถึงประสิทธิภาพและการปรับปรุงกระบวนการของธุรกิจ IT ให้ดีขึ้นได้ (Able to explain performance and improvement of IT business process) ITB31.04 120758
ITB32 การบริการของธุรกิจ IT (IT Business Service) 2.1 สามารถอธิบายวิธีการ เทคโนโลยี แอปพลิเคชั่น ระบบที่ใช้อยู่เดิม (legacy system) สำหรับธุรกิจ IT ได้ (Able to explain legacy system for IT business) ITB32.04 120759
ITB32 การบริการของธุรกิจ IT (IT Business Service) 2.2 สามารถอธิบายระบบสนับสนุนการตัดสินใจซึ่งสามารถขยาย/เพิ่มพูนมูลค่าของธุรกิจได้ (Able to explain decision-making support system which maximize business value) ITB32.05 120760
ITB32 การบริการของธุรกิจ IT (IT Business Service) 2.3 สามารถอธิบายการบริหารจัดการงานบริการด้าน IT (ITSM) ได้ (Able to explain IT Service Management (ITSM)) ITB32.06 120761
ITB33 การประเมินผลการปฏิบัติงานของธุรกิจ IT (IT Business Performance Evaluation) 3.1 สามารถอธิบายการประเมินผลการปฏิบัติงานของธุรกิจ IT ได้ (Able to explain IT business performance evaluation) ITB33.02 120913

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ไม่ระบุ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ระบุและเลือกใช้เครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการธุรกิจ IT ได้ เช่น Business Process Management (BPM) Business Activity Management (BAM) และ Business Rule Engine (BRE) 



2. ระบุและเลือกวิธีการจัดการสารสนเทศในกระบวนการธุรกิจ IT เช่น Information Lifecycle Management (ILM) Information Resource Management (IRM)



3. ระบุและเลือกใช้เครื่องมือการปรับปรุงกระบวนการของธุรกิจ IT เช่น Business Process Reengineering (PBR) และ Process Innovation (PI) 6 Sigma TRIZ  SERVQUAL และ Statistical Process Control



4. ระบุ จำแนก และอธิบายแนวคิด Enterprise Solution ประเภทต่างๆ ได้แก่ Enterprise Resource Planning (ERP) Supply Chain Management (SCM) Customer Relationship Management (CRM) Product Life Cycle Management (PLM) และHuman Resource Management (HRM)



5. ระบุ จำแนก และอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ได้แก่ Enterprise Data Warehouse (EDW) Decision Support System (DSS) และ Business Intelligence (BI)



6. ระบุ จำแนก และอธิบายแนวคิดการบริหารจัดการงานบริการด้าน IT (ITSM) ได้แก่ Information Technology Infrastructure Library (ITIL) Service Level Agreement (SLA) และ Service Level Management (SLM)



7. ประเมินผลด้านการเงิน ด้วยวิธี Return of Investment (ROI) Net Present Value (NPV) Internal Rate of Return (IRR) Payment Period  (PP)



8. ประเมินผลการปฏิบัติงานของธุรกิจ IT ด้วยเทคนิคต่างๆ เช่น Balanced Score Card (BSC) IT Balanced Score Card (IT-BSC) Key Performance Indicator (KPI) และ Management By Objective (MBO)



 

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. แนวคิดการใช้เครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการธุรกิจ IT เช่น Business Process Management (BPM) Business Activity Management (BAM) และ Business Rule Engine (BRE) 



2. แนวคิดการจัดการสารสนเทศในกระบวนการธุรกิจ IT เช่น Information Lifecycle Management (ILM) Information Resource Management (IRM)



3. แนวคิดการใช้เครื่องมือการปรับปรุงกระบวนการของธุรกิจ IT เช่น Business Process Reengineering (PBR) และ Process Innovation (PI) 6 Sigma TRIZ  SERVQUAL และStatistical Process Control



4. แนวคิดระบบที่ใช้อยู่เดิม (legacy system) หน้าที่ Enterprise Solution ประเภทต่างๆ ได้แก่ Enterprise Resource Planning (ERP) Supply Chain Management  (SCM) Customer Relationship Management (CRM) Product Life Cycle Management (PLM) และ Human Resource Management (HRM)



5. แนวคิดเกี่ยวกับระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ได้แก่ Enterprise Data Warehouse (EDW) Decision Support System (DSS) และ Business Intelligence (BI)



6. แนวคิดการบริหารจัดการงานบริการด้าน IT (ITSM) ได้แก่ Information Technology Infrastructure Library (ITIL) Service Level Agreement (SLA) และ Service Level Management (SLM)



7. แนวคิดการประเมินผลด้านการเงิน ได้แก่ Return of Investment (ROI) Net Present Value (NPV) Internal Rate of Return (IRR) Payment Period  (PP)



8. แนวคิดการประเมินผลการปฏิบัติงานของธุรกิจ IT ได้แก่ Balanced Score Card (BSC) IT Balanced Score Card (IT-BSC) Key Performance Indicator (KPI) และ Management By Objective (MBO)



 

14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

    หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



    N/A



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



   1. ผลจากการทดสอบความรู้โดยแบบทดสอบ



   2. ผลการทำกรณีศึกษาตามที่กำหนด



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



    N/A



วิธีการประเมิน



1. ประเมินความรู้ด้วยการสอบข้อเขียนแบบปรนัย



2. ประเมินความรู้ด้วยการทำกรณีศึกษาตามที่กำหนด



 

15. ขอบเขต (Range Statement)

    ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง



(ก) คำแนะนำ 



    หน่วยสมรรถนะนี้เป็นการทดสอบ กระบวนการทางธุรกิจ IT  การบริการของธุรกิจ IT และการประเมินผลการปฏิบัติงานของธุรกิจ IT ผู้เข้ารับการประเมินสามารถแสดงความรู้และทักษะเกี่ยวกับ กระบวนการทางธุรกิจ IT  การบริการของธุรกิจ IT และการประเมินผลการปฏิบัติงานของธุรกิจ IT ได้อย่างเหมาะสม



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



    N/A



 

16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมินหน่วยสมรรถนะย่อย กระบวนการทางธุรกิจ IT ตามข้อกำหนดมาตรฐาน

1. การสอบข้อเขียนแบบปรนัย

2. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

3. แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน

18.2 เครื่องมือประเมินหน่วยสมรรถนะย่อย การบริการของธุรกิจ IT ตามข้อกำหนดมาตรฐาน

1. การสอบข้อเขียนแบบปรนัย

2. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

3. แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน

18.3 เครื่องมือประเมินหน่วยสมรรถนะย่อย การประเมินผลการปฏิบัติงานของธุรกิจ IT ตามข้อกำหนดมาตรฐาน

1. การสอบข้อเขียนแบบปรนัย

2. แบบฟอร์มประเมินผลการสัมภาษณ์

3. แบบฟอร์มแฟ้มสะสมผลงาน

 



 



 


ยินดีต้อนรับ