หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ออกแบบระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม

สาขาวิชาชีพหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ MCT-ZZZ-5-132ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ออกแบบระบบหุ่นยนต์อุตสาหกรรม

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / N/A

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพช่างเทคนิคระบบหุ่นยนต์



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้เป็นหน่วยสมรรถนะที่จำเป็นของอาชีพช่างเทคนิคระบบหุ่นยนต์ที่กล่าวถึงเรื่องการออกแบบกระบวนการทำงานของหุ่นยนต์ Process  การออกแบบปลายแขนหุ่นยนต์ End effector การออกแบบระบบจับยึดชิ้นงานในกระบวนการหุ่นยนต์ fixture การออกแบบระบบความปลอดภัย safety การออกแบบกระบวนการควบคุมระบบทำงานของหุ่นยนต์ Systems รวมถึงการจำลองกระบวนการเพื่อการตัดสินใจ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
สาขาวิชาชีพหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
03201.01 ออกแบบกระบวนการทำงานของหุ่นยนต์ Process 1.1 สำรวจกระบวนการและเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบได้ 03201.01.01 118592
03201.01 ออกแบบกระบวนการทำงานของหุ่นยนต์ Process 1.2 วิเคราะห์ข้อมูลและสรุปจุดบกพร่อง 03201.01.02 118593
03201.01 ออกแบบกระบวนการทำงานของหุ่นยนต์ Process 1.3 ออกแบบ แนวคิดการปรับปรุงกระบวนการได้ 03201.01.03 118594
03201.01 ออกแบบกระบวนการทำงานของหุ่นยนต์ Process 1.4 ประมาณการต้นทุน การปรับปรุงกระบวนการได้ 03201.01.04 118595
03201.02 ออกแบบปลายแขนหุ่นยนต์ End effector 1.1 เลือก End of effector ให้เหมาะสมต่อลักษณะการทำงานได้ 03201.02.01 118599
03201.02 ออกแบบปลายแขนหุ่นยนต์ End effector 1.2 ออกแบบ End of effector เหมาะสมกับงานและหุ่นยนต์ได้ 03201.02.02 118600
03201.02 ออกแบบปลายแขนหุ่นยนต์ End effector 1.3 ทดสอบการทำงาน End of effector ด้วย Software ได้ 03201.02.03 118601
03201.03 ออกแบบระบบจับยึดชิ้นงานในกระบวนการหุ่นยนต์ fixture 1.1 เลือก ระบบจับยึด ให้เหมาะสมต่อลักษณะการทำงานได้ 03201.03.01 118602
03201.03 ออกแบบระบบจับยึดชิ้นงานในกระบวนการหุ่นยนต์ fixture 1.2 ออกแบบ ระบบจับยึด เหมาะสมกับงานและหุ่นยนต์ได้ 03201.03.02 118603
03201.03 ออกแบบระบบจับยึดชิ้นงานในกระบวนการหุ่นยนต์ fixture 1.3 ทดสอบการทำงาน ระบบจับยึด ด้วย Software ได้ 03201.03.03 118604
03201.04 ออกแบบระบบความปลอดภัย Safety 1.1 เลือกระบบความปลอดภัย ให้เหมาะสมต่อลักษณะการทำงานได้ 03201.04.01 118605
03201.04 ออกแบบระบบความปลอดภัย Safety 1.2 ระบุส่วนสำคัญในการออกแบบระบบความปลอดภัย 03201.04.02 118606
03201.04 ออกแบบระบบความปลอดภัย Safety 1.3 เลือกอุปกรณ์ระบบความปลอดภัยให้เหมาะสมกับระบบหุ่นยนต์ได้ 03201.04.03 118607
03201.05 ออกแบบกระบวนการควบคุมระบบทำงานของหุ่นยนต์ systems 1.1 เขียนผังความลำดับสัมพันธ์การไหลงานของหุ่นยนต์ได้อย่างถูกต้อง (Flow Chart) 03201.05.01 118613
03201.05 ออกแบบกระบวนการควบคุมระบบทำงานของหุ่นยนต์ systems 1.2 เขียนผังเวลางานของหุ่นยนต์ได้อย่างถูกต้อง (Time Chart) 03201.05.02 118614
03201.05 ออกแบบกระบวนการควบคุมระบบทำงานของหุ่นยนต์ systems 1.3 บอกความสามารถแต่ละชนิดหุ่นยนต์ตามลักษณะโครงสร้างทางกลได้ 03201.05.03 118615
03201.05 ออกแบบกระบวนการควบคุมระบบทำงานของหุ่นยนต์ systems 1.4 เลือกชนิดหุ่นยนต์ให้สัมพันธ์กับความต้องการของกระบวนการที่แตกต่างกันได้ 03201.05.04 118616
03201.05 ออกแบบกระบวนการควบคุมระบบทำงานของหุ่นยนต์ systems 1.5 ออกแบบระบบการสื่อสารหุ่นยนต์และเครื่องจักรได้ 03201.05.05 118617
03201.05 ออกแบบกระบวนการควบคุมระบบทำงานของหุ่นยนต์ systems 1.6 เลือกระบบการสื่อสารของหุ่นยนต์และเครื่องจักรให้เหมาะสมต่อลักษณะการทำงานได้ 03201.05.06 118618
03201.05 ออกแบบกระบวนการควบคุมระบบทำงานของหุ่นยนต์ systems 1.7 ออกแบบโปรแกรมควบคุมระบบหุ่นยนต์สอดคล้องกับผังควบคุมการทำงานได้ 03201.05.07 118619
03201.06 การจำลองกระบวนการเพื่อการตัดสินใจ 1.1 ลำดับขั้นตอนการจำลองระบบหุ่นยนต์กับลักษณะงานได้ 03201.06.01 118626
03201.06 การจำลองกระบวนการเพื่อการตัดสินใจ 1.2 สร้างการจำลองระบบหุ่นยนต์กับลักษณะงานได้ 03201.06.02 118627
03201.06 การจำลองกระบวนการเพื่อการตัดสินใจ 1.3 คำนวณความเร็วในการผลิต (Takt time) ของระบบงานหุ่นยนต์ 03201.06.03 118628
03201.06 การจำลองกระบวนการเพื่อการตัดสินใจ 1.4 ปรับกระบวนการให้กับเหมาะสม(Optimized)กับความต้องการการผลิตได้ 03201.06.04 118629

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.    ทักษะการเขียนแบบทางกล
2.    ทักษะการเขียนแบบทางไฟฟ้า
3.    ทักษะการเขียนผังการไหลกระบวนการ
4.    ทักษะการโปรแกรมควบคุม
5.    ทักษะการติดตั้งกระบวนการ

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    การคิดต้นทุนการติดตั้งกระบวนการผลิต

2.    การคิดความเร็วในการผลิต

3.    การใช้โปรแกรมจำลองกระบวนการผลิตด้วยระบบหุ่นยนต์

4.    การเชื่อมต่อระบบสื่อสารเครื่องจักรกับหุ่นยนต์

5.    ความรู้การใช้ Application เขียนแบบโครงสร้างทางกล แบบสามมิติ และสองมิติ

6.    ความรู้การใช้ Application เขียนแบบระบบไฟฟ้าได้

 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก.)    หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

1.    แบบฟอร์มบันทึกภาระงาน

2.    ใบบันทึกผลการปฏิบัติงาน

3.    ใบรับรองผลงานจากผู้ประกอบการ

4.    ใบรับรองการผ่านงาน

5.    แฟ้มสะสมผลงาน

6.    แบบบันทึกผลการสังเกตการปฏิบัติงาน

(ข.)    หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

1.    เอกสารผลการประเมินจากการสอบข้อเขียน

2.    เอกสารรับรองผลการเรียนหรือผลการฝึกอบรม

3.    เอกสารการจัดทำคู่มือ

4.    เอกสารการสอนงาน

5.    หรือเอกสารรับรองอื่นๆที่ออกจากหน่วยงานที่เชื่อถือได้

(ค.)    คำแนะนำในการประเมิน

    เจ้าหน้าที่ประเมินหลักฐานโดยพิจารณาร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงานและหลักฐานความรู้

 


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตการประเมินในหน่วยสมรรถนะนี้ แบ่งออกเป็น 6 หัวข้อหน่วยสมรรถนะย่อย โดยสมรรถนะย่อยแรกเป็นออกแบบกระบวนการทำงานของหุ่นยนต์ Process ออกแบบปลายแขนหุ่นยนต์ End effector ออกแบบระบบจับยึดชิ้นงานในกระบวนการหุ่นยนต์ fixture และออกแบบระบบความปลอดภัย safety และออกแบบกระบวนการควบคุมระบบทำงานของหุ่นยนต์ Systems โดยสามารถแสดงการออกแบบการจำลองกระบวนการเพื่อการตัดสินใจ
(ก.)    คำแนะนำ
1.    ผู้เข้ารับการประเมิน สำรวจกระบวนการและเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบได้ ตามสภาพ
การจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
2.    ผู้เข้ารับการประเมินวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปจุดบกพร่อง ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
3.    ผู้เข้ารับการประเมินออกแบบ แนวคิดการปรับปรุงกระบวนการได้  ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
4.    ผู้เข้ารับการประเมิน  ประมาณการต้นทุน การปรับปรุงกระบวนการได้ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
5.    ผู้เข้ารับการประเมินเลือก End of effector ให้เหมาะสมต่อลักษณะการทำงานได้
ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
6.    ผู้เข้ารับการประเมินออกแบบ End of effector เหมาะสมกับงานและหุ่นยนต์ได้ ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
7.    ผู้เข้ารับการประเมินทดสอบการทำงาน End of effector ด้วย Software ได้ ตามสภาพ
การจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
8.    ผู้เข้ารับการประเมิน เลือก ระบบจับยึด ให้เหมาะสมต่อลักษณะการทำงานได้ ตามสภาพ
การจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
9.    ผู้เข้ารับการประเมินออกแบบ ระบบจับยึด เหมาะสมกับงานและหุ่นยนต์ได้ ตามสภาพ
การจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
10.    ผู้เข้ารับการประเมินทดสอบการทำงาน ระบบจับยึด ด้วย Software ได้ ตามสภาพ
การจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
11.    ผู้เข้ารับการประเมินเลือก ระบบความปลอดภัย ให้เหมาะสมต่อลักษณะการทำงานได้
ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
12.    ผู้เข้ารับการประเมิน ระบุส่วนสำคัญในการออกแบบระบบความปลอดภัยตามสภาพ
การจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
13.    ผู้เข้ารับการประเมิน เลือกอุปกรณ์ ระบบความปลอดภัยให้เหมาะสมกับระบบหุ่นยนต์ได้
ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
14.    ผู้เข้ารับการประเมิน เขียน ผังความลำดับสัมพันธ์การไหล งานของหุ่นยนต์ได้อย่างถูกต้อง (Flow Chart) ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
15.    ผู้เข้ารับการประเมินเขียน ผังเวลางานของหุ่นยนต์ได้อย่างถูกต้อง (Time Chart) ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
16.    ผู้เข้ารับการประเมินบอกความสามารถแต่ละชนิดหุ่นยนต์ตามลักษณะโครงสร้างทางกลได้    ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
17.    ผู้เข้ารับการประเมินเลือกชนิดหุ่นยนต์ให้สัมพันธ์กับความต้องการของกระบวนการ
ที่แตกต่างกันได้ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
18.    ผู้เข้ารับการประเมินออกแบบระบบการสื่อสารหุ่นยนต์และเครื่องจักรได้ ตามสภาพ
การจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
19.    ผู้เข้ารับการประเมิน เลือก ระบบการสื่อสารของหุ่นยนต์และเครื่องจักร ให้เหมาะสมต่อลักษณะการทำงานได้ ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
20.    ผู้เข้ารับการประเมินออกแบบโปรแกรมควบคุมระบบหุ่นยนต์สอดคล้องกับผังควบคุม
การทำงานได้ ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
21.    ผู้เข้ารับการประเมินสร้างการจำลองระบบหุ่นยนต์กับลักษณะงานได้ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
22.    ผู้เข้ารับการประเมินคำนวณความเร็วในการผลิต (Takt time) ของระบบงานหุ่นยนต์
ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
23.    ผู้เข้ารับการประเมินปรับกระบวนการให้กับเหมาะสม(Optimized)กับความต้องการการผลิตได้ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
(ข.)    คำอธิบายรายละเอียด
1.    ออกแบบกระบวนการทำงานของหุ่นยนต์ Process ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีทักษะ
ในการสำรวจและเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบเพื่อวิเคราะห์จุดบกพร่องปรับปรุงรวมถึงการนำเสนอแนวคิด
การปรับปรุงกระบวนการได้อีกทั้งต้องมีความรู้ด้านการประมาณต้นทุนในการปรับปรุงกระบวนการเพื่อใช้
ในการทดสอบตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
2.    ออกแบบปลายแขนหุ่นยนต์ End effector ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีทักษะและความรู้ในการเลือก,การออกแบบ,การทดสอบ อุปกรณ์ทำงานติดปลายแขนหุ่นยนต์ (End of Effector) ได้อย่างเหมาะสมต่อลักษณะงานได้ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
3.    ออกแบบระบบจับยึดชิ้นงานในกระบวนการหุ่นยนต์ fixture ผู้เข้ารักการประเมินต้องมีทักษะในการเลือก,การออกแบบ,การทดสอบ ระบบจับยึดให้เหมาะสมกับลักษณะการทำงานได้ตามสภาพ
การจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
4.    ออกแบบระบบความปลอดภัย safetyผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความรู้ในระบบ
ความปลอดภัยในระบบหุ่นยนต์ที่ระบุบอกส่วนสำคัญในระบบความปลอดภัยของหุ่นยนต์ได้รวมถึงต้องมีทักษะในการเลือกอุปกรณ์ระบบความปลอดภัยที่เหมาะสมกับระบบหุ่นยนต์ได้ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
5.    ออกแบบกระบวนการควบคุมระบบทำงานของหุ่นยนต์ Systemsผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความรู้และทักษะเลือกชนิดหุ่นยนต์ รวมถึงการเขียนลำดับผังการไหล,ผังเวลางานหุ่นยนต์ (Time Chart)
การออกแบบระบบสื่อสารหุ่นยนต์กับเครื่องจักร รวมถึงโปรแกรมควบคุมระบบหุ่นยนต์ให้สอดคล้องกับ
ผังควบคุมการทำงานได้ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง
6.    การจำลองกระบวนการเพื่อการตัดสินใจ ผู้เข้ารับการประเมินต้องมีความรู้และทักษะ
ในการออกแบบจำลองด้วย Application Software เพื่อปรับปรุงกระบวนการผลิตให้เหมาะสม (Optimized) กับความต้องการในการผลิตได้โดยพิจารณาจากความเร็วในการผลิต (Takt time) ของระบบงานหุ่นยนต์ได้ตามสภาพการจำลองหรือเหตุการณ์จำลองได้อย่างถูกต้อง


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 เครื่องมือประเมิน ออกแบบกระบวนการทำงานของหุ่นยนต์ Process
1.    แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2.    แบบประเมินผลการสังเกตการณ์จากการจำลองการปฏิบัติงาน
3.    แบบฟอร์มการประเมินผลจากการสอบสัมภาษณ์
18.2 เครื่องมือประเมิน ออกแบบปลายแขนหุ่นยนต์ End effector
1.    แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2.    แบบประเมินผลการสังเกตการณ์จากการจำลองการปฏิบัติงาน
3.    แบบฟอร์มการประเมินผลจากการสอบสัมภาษณ์
18.3 เครื่องมือประเมิน ออกแบบระบบจับยึดชิ้นงานในกระบวนการหุ่นยนต์ fixture
1.    แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2.    แบบประเมินผลการสังเกตการณ์จากการจำลองการปฏิบัติงานหรือ
3.    แบบฟอร์มการประเมินผลจากการสอบสัมภาษณ์
18.4 เครื่องมือประเมิน ออกแบบระบบความปลอดภัย safety
1.    แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2.    แบบประเมินผลการสังเกตการณ์จากการจำลองการปฏิบัติงานหรือ
3.    แบบฟอร์มการประเมินผลจากการสอบสัมภาษณ์
18.5 เครื่องมือประเมิน ออกแบบกระบวนการควบคุมระบบทำงานของหุ่นยนต์ Systems
1.    แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2.    แบบประเมินผลการสังเกตการณ์จากการจำลองการปฏิบัติงานหรือ
3.    แบบฟอร์มการประเมินผลจากการสอบสัมภาษณ์
18.6 เครื่องมือประเมิน การจำลองกระบวนการเพื่อการตัดสินใจ
1.    แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2.    แบบประเมินผลการสังเกตการณ์จากการจำลองการปฏิบัติงานหรือ
3.    แบบฟอร์มการประเมินผลจากการสอบสัมภาษณ์



ยินดีต้อนรับ