หน่วยสมรรถนะ
ออกแบบผลิตภัณฑ์
สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมดิจิทัล
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | ICT-PHHK-088B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | ออกแบบผลิตภัณฑ์ |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / - |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพนักออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอซีที |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้มีสมรรถนะทางเทคนิคครอบคลุมงานอาชีพแก้ไขปัญหาในบริบทที่คาดการณ์ปัญหาได้ ปรับใช้หลักการหาข้อสรุปประเด็นปัญหาและตัดสินใจงานในหน้าที่ได้ด้วยตนเอง ประสานการทำงานเพื่อควบคุมคุณภาพผลงาน เป็นผู้ที่มีความสามารถ ออกแบบรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ตามความต้องการ และออกแบบฟังก์ชันการทำงานของผลิตภัณฑ์ตามความต้องการ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
2163 นักออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม2166 นักออกแบบภาพกราฟิก2223 ผู้จัดการด้านการวิจัยและพัฒนา |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
30102.01 ออกแบบรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ตามความต้องการ | 1.1 เขียนแบบโครงสร้าง | 30102.01.01 | 120310 |
30102.01 ออกแบบรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ตามความต้องการ | 1.2 สร้างแบบจำลอง (Model Simulation) | 30102.01.02 | 120311 |
30102.01 ออกแบบรูปลักษณ์ของผลิตภัณฑ์ตามความต้องการ | 1.3 กำหนดรายการวัสดุ (Bill of Materials) | 30102.01.03 | 120312 |
30102.02 ออกแบบฟังก์ชันการทำงานของผลิตภัณฑ์ตามความต้องการ | 2.1 กำหนดหน้าที่ ขั้นตอนและวิธีการทำงาน | 30102.02.01 | 120308 |
30102.02 ออกแบบฟังก์ชันการทำงานของผลิตภัณฑ์ตามความต้องการ | 2.2 กำหนดวิธีการทดสอบหน้าที่ ขั้นตอนและวิธีการทำงาน | 30102.02.02 | 120309 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
N/A |
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1. ความสามารถในการเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2. ความสามารถในการสร้างแบบจำลองด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3. ความสามารถในการกำหนดรายการวัสดุ 4. ความสามารถในการออกแบบและจำลองฟังก์ชันการทำงานโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 5. ความสามารถในการทดสอบหน้าที่ ขั้นตอนและวิธีการทำงานตามมาตรฐานที่กำหนด (ข) ความต้องการด้านความรู้ 1. ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐาน ได้แก่ ISO/IEC และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 2. ความรู้เกี่ยวกับการเขียนแบบด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 3. ความรู้เกี่ยวกับการสร้างแบบจำลองด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 4. ความรู้เกี่ยวกับการกำหนดรายการวัสดุ 5. ความรู้เกี่ยวกับการออกแบบและจำลองฟังก์ชันการทำงานโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 6. ความรู้เกี่ยวกับมาตรฐานได้แก่ ISO/IEC และมาตรฐานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง 7. ความรู้เกี่ยวกับการทดสอบหน้าที่ ขั้นตอนและวิธีการทำงานตามมาตรฐานที่กำหนด |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
(ค) คำแนะนำในการประเมิน ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมิน ที่ครอบคลุมในทุกสมรรถนะประเมินย่อย ขอบเขต ความรู้และทักษะที่กำหนด ในกรณีที่ผู้รับการประเมินผ่านไม่ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ผู้ประเมินจะต้องแจ้งหน่วยสมรรถนะที่ ไม่ผ่าน และให้ผู้รับการประเมินไปทบทวนสมรรถนะที่ยังไม่ผ่านและสามารถกลับมาทดสอบสมรรถนะใหม่อีกครั้ง (ง) วิธีการประเมิน
|
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ ไม่มี (ข) คำอธิบายรายละเอียด
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
วิธีการประเมินสามารถจำแนกได้ตามสมรรถนะย่อย ดังนี้
|