หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ออกแบบฐานข้อมูลบนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมดิจิทัล


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ ICT-KOKE-043B

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ออกแบบฐานข้อมูลบนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

          อาชีพนักออกแบบสถาปัตยกรรมด้านซอฟต์แวร์



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
          เป็นผู้ที่สามารถอ่าน Class Diagram จากความต้องการทางธุรกิจ แปลง Class Diagram เป็น ER Diagram และตรวจสอบความถูกต้องการแปลง Class Diagram เป็น ER Diagram

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
          ผู้ประกอบวิชาชีพด้านอุตสาหกรรมดิจิทัล

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
1330 ผู้จัดการด้านการบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร2166 นักออกแบบกราฟิกและสื่อผสม2356 ผู้ฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ2512 นักพัฒนาซอฟต์แวร์2513 นักพัฒนาเว็บไซต์และสื่อผสม2514 โปรแกรมเมอร์2519 นักวิเคราะห์และพัฒนาซอฟต์แวร์และโปรแกรมประยุกต์ ซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น2521 นักออกแบบและผู้บริหารฐานข้อมูล

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
12202.01 อ่าน Class Diagram จากความต้องการทางธุรกิจ 1.1 อ่านแผนภาพตามมาตรฐาน UML จากการวิเคราะห์ความต้องการทางธุรกิจ 12202.01.01 119136
12202.01 อ่าน Class Diagram จากความต้องการทางธุรกิจ 1.2 ตีความหมายการวิเคราะห์จากความต้องการทางธุรกิจ 12202.01.02 119137
12202.01 อ่าน Class Diagram จากความต้องการทางธุรกิจ 1.3 แปลงความต้องการทางธุรกิจออกมาในรูปแบบของ Class Diagram 12202.01.03 119138
12202.02 แปลง Class Diagram เป็น ER Diagram 2.1 อ่าน Class Diagram ตรงตามลำดับการทำงาน 12202.02.01 119139
12202.02 แปลง Class Diagram เป็น ER Diagram 2.2 ตีความหมายของ Class Diagram 12202.02.02 119140
12202.02 แปลง Class Diagram เป็น ER Diagram 2.3 แปลง Class Diagram เป็น ER Diagram 12202.02.03 119141
12202.03 ตรวจสอบความถูกต้องการแปลง Class Diagram เป็น ER Diagram 3.1 ตรวจสอบการแปลง Class Diagram เป็น ER Diagram ทางธุรกิจ 12202.03.01 119142
12202.03 ตรวจสอบความถูกต้องการแปลง Class Diagram เป็น ER Diagram 3.2 ทบทวนและแก้ไขการเขียน ER Diagram 12202.03.02 119143

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


  1. อ่านแผนภาพตามมาตรฐาน UML จากการวิเคราะห์ความต้องการทางธุรกิจ

  2. ตีความหมายการวิเคราะห์จากความต้องการทางธุรกิจ

  3. แปลงความต้องการทางธุรกิจออกมาในรูปแบบของ Class Diagram

  4. อ่าน Class Diagram ตรงตามลำดับการทำงาน

  5. ตีความหมายของ Class Diagram

  6. แปลง Class Diagram เป็น ER Diagram

  7. ตรวจสอบต้องการแปลง Class Diagram เป็น ER Diagram ทางธุรกิจ

(ข) ความต้องการด้านความรู้


  1. ความรู้เกี่ยวกับการอ่านแผนภาพตามมาตรฐาน UML จากการวิเคราะห์ความต้องการทางธุรกิจ

  2. ความรู้เกี่ยวกับการตีความหมายการวิเคราะห์จากความต้องการทางธุรกิจ

  3. ความรู้เกี่ยวกับการแปลงความต้องการทางธุรกิจออกมาในรูปแบบของ Class Diagram

  4. ความรู้เกี่ยวกับการอ่าน Class Diagram

  5. ความรู้เกี่ยวกับการตีความหมายของ Class Diagram

  6. ความรู้เกี่ยวกับการแปลง Class Diagram เป็น ER Diagram

  7. ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบต้องการแปลง Class Diagram เป็น ER Diagram ทางธุรกิจ

  8. ความรู้เกี่ยวกับการทบทวนและแก้ไขการเขียน ER Diagram


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

          หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



          (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



                    1. เอกสารหลักฐานที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน



          (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



                    1. ผลจากการสอบข้อเขียน



                    2. ผลจากการสัมภาษณ์



          (ค) คำแนะนำในการประเมิน



                    หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงสมรรถนะในส่วนนี้ ต้องมีความสำคัญและตอบสนองตามข้อกำหนดของสมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติ โดยต้องแสดงถึง



                    1. ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง



                    2. กระบวนการในการทำงานและข้อกำหนดต่าง ๆ



                    3. ขอบเขตด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง



          (ง) วิธีการประเมิน



                    1. ผู้ประเมินทำการประเมินการปฏิบัติงานที่ต้องการของผู้เข้าทดสอบโดยใช้ เอกสารหลักฐานที่จำเป็นในการปฏิบัติงาน



                    2. ผู้ประเมินทำประเมินความรู้ผู้เข้าทดสอบโดยใช้การสอบข้อเขียนและแบบสัมภาษณ์


15. ขอบเขต (Range Statement)

          (ก) คำแนะนำ



                    ในการปฏิบัติงานให้คำนึงถึง ความหมายความต้องการทางธุรกิจ โครงสร้างความสัมพันธ์ของแฟ้มข้อมูล สัญลักษณ์ ตามมาตรฐานสากล โครงสร้างพจนานุกรมฐานข้อมูล โครงสร้างของฐานข้อมูล วัตถุประสงค์ของฐานข้อมูล การจัดระเบียบข้อมูล การเปลี่ยนรายการของข้อมูล วิเคราะห์การออกแบบ ใช้กฎNormalization 



          (ข) คำอธิบายรายละเอียด



                    1. ความหมายความต้องการทางธุรกิจ ตามที่กำหนดของขอบเขตงาน



                    2. โครงสร้างความสัมพันธ์ของแฟ้มข้อมูล (ER-Diagram)  ตามมาตรฐานสากล



                    3. สัญลักษณ์ ตามมาตรฐานสากล



                    4. ความต้องการทางธุรกิจเป็นพจนานุกรมฐานข้อมูล (Data Dictionary) ตามที่กำหนดของขอบเขตงาน



                    5. โครงสร้างพจนานุกรมฐานข้อมูล (Data Dictionary) ตามมาตรฐานสากล



                    6. โครงสร้างของฐานข้อมูล ตามที่กำหนดของขอบเขตงาน



                    7. กำหนดวัตถุประสงค์ของฐานข้อมูล เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้งานในการออกแบบและลำดับขั้นของงาน



                    8. ค้นหาและจัดระเบียบข้อมูลที่ต้องการเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้งานในการออกแบบและลำดับขั้นของงาน



                    9. แบ่งข้อมูลลงในตารางต่าง ๆ เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้งานในการออกแบบและลำดับขั้นของงาน



                    10. เปลี่ยนรายการของข้อมูลให้เป็นคอลัมน์ต่างๆ เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้งานในการออกแบบและลำดับขั้นของงาน



                    11. ระบุคีย์หลักและกำหนดความสัมพันธ์ของตารางเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้งานในการออกแบบและลำดับขั้นของงาน



                    12. วิเคราะห์การออกแบบเพื่อหาข้อผิดพลาดและปรับเปลี่ยนให้เป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้งานในการออกแบบและลำดับขั้นของงาน



                    13. ใช้กฎ Normalization  ตามโครงสร้างฐานข้อมูลเป็นไปตามความต้องการของผู้ใช้งานในการออกแบบและลำดับขั้นของงาน



                    14. โครงสร้างของแฟ้มข้อมูล (ER-Diagram) ต้องตามที่กำหนดของขอบเขตงาน


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

วิธีการประเมินสามารถจำแนกได้ตามสมรรถนะย่อย ดังนี้




  1. สมรรถนะย่อย 12202.01 อ่าน Class Diagram จากความต้องการทางธุรกิจ ให้ทำการทดสอบโดยใช้การสอบข้อเขียนและแบบสัมภาษณ์

  2. สมรรถนะย่อย 12202.02 แปลง Class Diagram เป็น ER Diagram ให้ทำการทดสอบโดยใช้การสอบข้อเขียนและแบบสัมภาษณ์

  3. สมรรถนะย่อย 12202.03 ตรวจสอบความถูกต้องการแปลง Class Diagram เป็น ER Diagram ให้ทำการทดสอบโดยใช้การสอบข้อเขียนและแบบสัมภาษณ์



ยินดีต้อนรับ