หน่วยสมรรถนะ
พัฒนากรอบแนวคิดด้านศิลปะ
สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมดิจิทัล
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | ICT-OSZU-205B |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | พัฒนากรอบแนวคิดด้านศิลปะ |
3. ทบทวนครั้งที่ | 1 / - |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
อาชีพนัก Concept/Visual Artist |
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
เป็นผู้ที่สามารถกำหนดกรอบแนวคิดของ โครงเรื่องจากการสำรวจความต้องการ เขียนเรื่องย่อตามกรอบแนวคิด และขยายรายละเอียดเรื่องย่อ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
ผู้ประกอบวิชาชีพด้านอุตสาหกรรมดิจิทัล |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
2651 นักทัศนศิลป์2659 ผู้สร้างสรรค์งานศิลปะและศิลปินการแสดง ซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น 3435 ผู้ประกอบวิชาชีพ ที่เกี่ยวข้องกับด้านศิลปะ วัฒนธรรม ซึ่งมิได้จัดประเภทไว้ในที่อื่น อนักออกแบบฉากและตัวละคร (Conceptual Art) |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
50104.01 รวบรวมข้อมูลแนวคิดด้านศิลปะ | 1.1 กำหนดแนวคิดด้านศิลปะได้ตามบทภาพยนตร์แอนิเมชัน | 50104.01.01 | 119298 |
50104.01 รวบรวมข้อมูลแนวคิดด้านศิลปะ | 1.2 รวบรวมข้อมูลแนวคิดด้านศิลปะที่สอดคล้องกับบทภาพยนตร์แอนิเมชัน | 50104.01.02 | 119299 |
50104.02 สเก็ต (Sketch) ภาพ | 2.1 เตรียมเครื่องมือสำหรับการสเก็ต (Sketch) ภาพ | 50104.02.01 | 119300 |
50104.02 สเก็ต (Sketch) ภาพ | 2.2 สเก็ต (Sketch) ภาพกรอบแนวคิดด้านศิลปะ | 50104.02.02 | 119301 |
50104.02 สเก็ต (Sketch) ภาพ | 2.3 ตรวจสอบการสเก็ต (Sketch) ภาพตามแนวคิดด้านศิลปะ | 50104.02.03 | 119302 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
|
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
(ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) (ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) 1. ผลจากการปฏิบัติงาน 2. แฟ้มสะสมงาน (ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) 1. ผลจากสัมภาษณ์ 2. ผลจากทดสอบความรู้ (ค) คำแนะนำในการประเมิน ผู้เข้ารับการประเมินต้องผ่านการประเมิน ที่ครอบคลุมในทุกสมรรถนะประเมินย่อย ขอบเขต ความรู้ และทักษะที่กำหนด ในกรณีที่ผู้รับการประเมินผ่านไม่ครบตามเกณฑ์ที่กำหนด ผู้ประเมินจะต้องแจ้งหน่วยสมรรถนะที่ไม่ผ่าน และให้ผู้รับการประเมินไปทบทวนสมรรถนะที่ยังไม่ผ่านและสามารถกลับมาทดสอบสมรรถนะใหม่อีกครั้ง (ง) วิธีการประเมิน 1. ผู้ประเมินประเมินความรู้ โดยใช้การทดสอบด้วยแบบทดสอบ และการสัมภาษณ์ 2. การประเมินผลการปฏิบัติงานใช้แบบทดสอบปฏิบัติ และแฟ้มสะสมงาน |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
(ก) คำแนะนำ ไม่มี (ข) คำอธิบายรายละเอียด 1. การรวบรวมข้อมูล ได้แก่ รูปแบบของงานแอนิเมชัน อารมณ์สำหรับใช้ในงานแอนิเมชัน 2. กำหนดกรอบแนวคิดด้านศิลปะตามบทภาพยนตร์แอนิเมชันได้แก่ เส้น สี แสง และเงา รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว อื่น ๆ 3. การตรวจสอบ ได้แก่ กรอบแนวคิดศิลปะของตัวละครหลัก รอง ฉาก เหตุการณ์และองค์ประกอบอื่น ๆ ในท้องเรื่องทั้งหมด 4. สเก็ต (Sketch) ภาพ ได้แก่ การร่างภาพของตัวละครหลัก ตัวละครรอง ฉาก เหตุการณ์และองค์ประกอบอื่น ๆ ในท้องเรื่องทั้งหมด โดยใช้ลายเส้น สี แสง และเงา 5. การตรวจสอบการสเก็ต (Sketch) ภาพ ได้แก่ ตรวจสอบการวาดตัวละครหลัก รอง ฉาก เหตุการณ์และองค์ประกอบอื่น ๆ ในท้องเรื่องทั้งหมด |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
วิธีการประเมินสามารถจำแนกได้ตามสมรรถนะย่อย ดังนี้ 1. สมรรถนะย่อย 50104.01 รวบรวมข้อมูลแนวคิดด้านศิลปะ ทดสอบโดยใช้ข้อสอบข้อเขียน ข้อสอบปฏิบัติ แบบสัมภาษณ์ พิจารณาจากแฟ้มสะสมงาน 2. สมรรถนะย่อย 50104.02 สเก็ต (Sketch) ภาพ ทดสอบโดยใช้ข้อสอบข้อเขียน ข้อสอบปฏิบัติ แบบสัมภาษณ์ พิจารณาจากแฟ้มสะสมงาน |