หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมก่อสร้างและการผังเมือง


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ CIP-CFB-2-015ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)


211 ช่างงานดันท่อลอด



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้ที่ผ่านสมรรถนะนี้จะสามารถติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน เพื่อให้งานเป็นไปตามข้อกำหนด

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
อุตสาหกรรมก่อสร้าง

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
211211 วางแผนและเตรียมงานติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน 1.1 ตรวจสอบขั้นตอนการดำเนินงานติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดินให้เป็นไปข้อกำหนดและได้มาตรฐาน 211211.01 117554
211211 วางแผนและเตรียมงานติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน 1.2 ประเมินความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น ปัจจัยที่ทำให้เกิดอันตรายและปัญหาสิ่งแวดล้อม และใช้มาตรการควบคุม 211211.02 117555
211211 วางแผนและเตรียมงานติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน 1.3 เลือกและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคลที่เหมาะสมสำหรับกิจกรรมการทำงาน 211211.03 117556
211211 วางแผนและเตรียมงานติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน 1.4 จัดเตรียมป้ายสัญญาณในการทำงาน 211211.04 117557
211211 วางแผนและเตรียมงานติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน 1.5 เลือกใช้ และตรวจสอบ ความผิดปกติของเครื่องจักรเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ในการดำเนินงาน 211211.05 117558
211211 วางแผนและเตรียมงานติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน 1.6 วางแผนการจัดเก็บวัสดุเพื่อความสะดวกในการใช้งานและลดอุบัติเหตุ 211211.06 117559
211212 วางแนวและขุดร่อง 2.1 ตรวจสอบระดับและความเอียงของร่องระบายน้ำเพื่อให้แน่ใจว่าสอดคล้องกับแบบแปลนและข้อกำหนด 211212.01 117560
211212 วางแนวและขุดร่อง 2.2 กำหนดและทำเครื่องหมายตำแหน่งร่องขุดอย่างชัดเจน 211212.02 117561
211212 วางแนวและขุดร่อง 2.3 สื่อสารกับผู้ปฏิบัติงานขุดเพื่อให้มั่นใจว่าการขุดร่องลึกถูกต้อง 211212.03 117562
211213 ติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน 3.1 วางแผ่นใยสังเคราะห์ Geo-textileตามข้อกำหนด 211213.01 117563
211213 ติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน 3.2 เตรียมหน้าตัดและอุปกรณ์การระบายน้ำ 211213.02 117564
211213 ติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน 3.3 วางระบบระบายน้ำใต้ดิน 211213.03 117565
211213 ติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน 3.4 ตรวจสอบให้เป็นไปตามแบบแปลน 211213.04 117566
211213 ติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน 3.5 ติดตั้ง เชื่อมต่อโครงสร้างส่วนปลาย/ทางระบายน้ำกับช่องระบายน้ำเพื่อระบายน้ำฝนหรือระบบระบายน้ำใต้ดิน 211213.05 117567
211213 ติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน 3.6 เตรียมระบบสำหรับการฝังกลบดิน 211213.06 117568
211213 ติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน 3.7 ตรวจสอบขั้นตอนการถมดิน ให้เป็นไปตามข้อกำหนด 211213.07 117569
211214 ทำความสะอาดพื้นที่ทำงาน 4.1 จัดเก็บพื้นที่ ขนย้ายวัสดุและกำจัดขยะ 211214.01 117570
211214 ทำความสะอาดพื้นที่ทำงาน 4.2 ตรวจสอบ บำรุงรักษา จัดเก็บเรื่องจักร เครื่องมือและอุปกรณ์ 211214.02 117571

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)


ไม่ระบุ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


- ทักษะในการติดตั้งเครื่องจักรในการสูบน้ำ และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง




- ทักษะในการ คาดการณ์ และการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า




- ทักษะการควบคุมเครื่องจักรสูบน้ำด้วยระบบไฟฟ้า หรือระบบกล

(ข) ความต้องการด้านความรู้


- ความรู้การใช้งานเครื่องจักรในการสูบน้ำ และระบายน้ำ




- ความรู้ด้านความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)


(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) อาทิ




1) ใบรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ




2) แบบบันทึกรายการจากการสังเกต




(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) อาทิ




- ใบรับรองการเข้ารับการฝึกอบรม




- ใบรับรองการผ่านการประเมิน




- ใบประกาศนียบัตรวุฒิการศึกษา




(ค) คำแนะนำในการประเมิน




- ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้




(ง) วิธีการประเมิน




- ทดสอบด้านความรู้




- ทดสอบด้านด้านทักษะ


15. ขอบเขต (Range Statement)


(ก) คำแนะนำ




หน่วยสมรรถนะนี้เป็นการทดสอบติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน โดยในการทดสอบต้องคำนึงถึงข้อปฏิบัติดังต่อไปนี้




- ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสำคัญกับข้อกำหนดด้านความปลอดภัย




- เจ้าหน้าที่สอบควรมีความพร้อมในการทดสอบ และจะต้องค่อยระมัดระวังอันตรายที่อาจเกิดขึ้นได้




(ข) คำอธิบายรายละเอียด




การติดตั้งระบบระบายน้ำใต้ดิน คือการวางแผน ตรวจสอบขั้นตอน ประเมินความเสี่ยง เลือกใช้เครื่องจักร วางระบบระบายน้ำฝน ระบายน้ำใต้ดิน ฝังกลบดิน ทำความสะอาดพื้นที่ทำงาน




- การตรวจความผิดปกติของระบบสูบน้ำดิบเบื้องต้น และวิธีการใช้อุปกรณ์ในการตรวจสอบความผิดปกติของระบบสูบน้ำ มีดังนี้




- ความดันด้านดูดและความดันด้านจ่าย โดยใช้เกจวัดความดันบวกและเกจวัดความดันลบ




- การรั่วจากส่วนอัดที่กันรั่ว โดยการสังเกตด้วยสายตา




- กระแสไฟฟ้าที่เข้ามอเตอร์ โดยใช้แอมมิเตอร์




- การสั่นสะเทือนและเสียง โดยการจับด้วยมือหรือใช้หูฟัง




- ปริมาณน้ำหล่อลื่นในเสื้อของรองลื่น โดยการสังเกตด้วยสายตาและการหมุนของแหวนน้ำมัน




- ลักษณะของเครื่องสูบน้ำ
  - เครื่องสูบน้ำ เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยส่งผ่านพลังงานจากแหล่งต้นกำเนิดไปยังของเหลว เพื่อทำให้ของเหลวเคลื่อนที่จาก ตำแหน่งหนึ่งไป ยังอีก ตำแหน่งหนึ่งที่อยู่สูงกว่า หรือในระยะทางที่ไกลออกไป เครื่องปั๊มน้ำในปัจจุบันได้เปลี่ยนไปจากเดิม ที่ใช้พลังงานจาก แหล่งธรรมชาติมาเป็น การใช้พลังงานจากไอน้ำ จากเครื่องยนต์ และที่ใช้พลังงานไฟฟ้า




ลักษณะของเครื่องสูบน้ำ และระบบการควบคุมการทำงานของเครื่องสูบน้ำ มีดังนี้




- ลักษณะของเครื่องสูบน้ำแรงดันต่ำแบบ Horizontal pump (หัวปั๊มไม่เปียกน้ำ) และ Vertical (หัวปั๊มเปียกน้ำ)  เป็นต้น




- เครื่องสูบน้ำแรงดันต่ำแบ่งตามรอบการหมุน Fix speed pump (ปรับรอบการหมุนไม่ได้) และ Variable speed pump (ปรับรอบการหมุนได้)




- อุปกรณ์วัดระดับน้ำประเภท Ultrasonic Level Detector และประเภท Electrical Floating Level Switch




- การควบคุมการทำงานเครื่องสูบน้ำ แบบ Automatic – (ควบคุมการเดินและหยุดด้วยลูกลอยไฟฟ้าที่ติดตั้งบริเวณถังเก็บน้ำใส) และแบบ Manual – (สั่งทำงานและหยุดเครื่องสูบน้ำได้อย่างอิสระจากลูกลอยไฟฟ้า)




- อุปกรณ์ในการทำความสะอาดมีดังนี้ ไม้กวาดดอกหญ้า ไม้กวาดก้านมะพร้าว ที่โกยผง ผ้าสำหรับเช็ดทำความสะอาดไม้ถูพื้น แปรงสำหรับปัด/ขัดทำความสะอาด น้ำยาทำความสะอาด เป็นต้น




- ปฏิบัติงานตามข้อกำหนดความปลอดภัยตามคู่มือการบริหารจัดการความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน ของกองตรวจความปลอดภัยแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน หรือสมาคมส่งเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทำงาน (ประเทศไทย) หรือสถานประกอบการกำหนด


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)


(ก) เครื่องมือประเมินการตรวจสอบระบบน้ำใต้ดินกับแผนงาน




- ข้อสอบข้อเขียน




- การสัมภาษณ์




ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน




(ข) เครื่องมือประเมินการทำความสะอาดระบบระบายน้ำใต้ดิน




- ข้อสอบข้อเขียน




- การสัมภาษณ์




ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน




(ค) เครื่องมือประเมินความสามารถในการดึงน้ำของเครื่องสูบน้ำ




- ข้อสอบข้อเขียน




- การสัมภาษณ์




ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน




(ง) เครื่องมือประเมินการจัดวางท่อระบายน้ำ




- ข้อสอบข้อเขียน




- การสัมภาษณ์




ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน




(จ) เครื่องมือประเมินการควบคุมระบบไฟฟ้า การต่อเชื่อมระบบไฟฟ้า




- ข้อสอบข้อเขียน




- การสัมภาษณ์




ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน



 


ยินดีต้อนรับ