หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บริหารจัดการระบบควบคุมคุณภาพในงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PRT-AFP-4-073ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บริหารจัดการระบบควบคุมคุณภาพในงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2562

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ผู้ปฏิบัติงานหลังพิมพ์ระดับเชี่ยวชาญ, ผู้บริหารระดับต้น, ผู้ช่วยผู้จัดการฝ่ายงานหลังพิมพ์



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
           มีความรู้ความสามารถในการบริหารคุณภาพในงานหลังพิมพ์สำหรับหนังสือเล่มในทุกขั้นตอน  โดยการพัฒนามาตรฐานงานหลังพิมพ์  จัดทำระบบเอกสารควบคุมคุณภาพ และจัดทำกระบวนการควบคุมคุณภาพ เพื่อให้สามารถผลิตงานหลังพิมพ์ที่มีคุณภาพดี ตรงตามที่ลูกค้าต้องการ และลดของเสียในสายการผลิต

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ประกอบวิชาชีพงานหลังพิมพ์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
อนุกรมมาตรฐาน ISO 9000

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
404021

พัฒนามาตรฐานงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม

1.1 พัฒนามาตรฐานคุณภาพการพับที่มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับการดำเนินงานขององค์กร

404021.01 158816
404021

พัฒนามาตรฐานงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม

1.2  พัฒนามาตรฐานคุณภาพการไสสันทากาวที่มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับการดำเนินงานขององค์กร

404021.02 158817
404021

พัฒนามาตรฐานงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม

1.3 พัฒนามาตรฐานคุณภาพการทำเล่มวิธีต่าง ๆ ที่มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับการดำเนินงานขององค์กร

404021.03 158818
404022

จัดทำระบบเอกสารควบคุมคุณภาพในงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม

1.1  รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำระบบควบคุมคุณภาพได้ครบถ้วน

404022.01 158819
404022

จัดทำระบบเอกสารควบคุมคุณภาพในงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม

1.2   จัดทำระบบเอกสารควบคุมคุณภาพในงานหลังพิมพ์ที่การใช้งานได้อย่างประสิทธิภาพ

404022.02 158820
404022

จัดทำระบบเอกสารควบคุมคุณภาพในงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม

1.3 จัดฝึกอบรมบุคลากรให้มีความรู้ในระบบเอกสารควบคุมคุณภาพ

404022.03 158821
404023

จัดทำกระบวนการควบคุมคุณภาพในงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม

3.1 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดทำกระบวนการควบคุมคุณภาพได้ครบถ้วน

404023.01 158822
404023

จัดทำกระบวนการควบคุมคุณภาพในงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม

3.2 พัฒนากระบวนการควบคุมคุณภาพในงานหลังพิมพ์ที่มีการดำเนินการได้อย่างประสิทธิภาพ

404023.02 158823
404023

จัดทำกระบวนการควบคุมคุณภาพในงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม

3.3 จัดฝึกอบรมบุคลากรให้มีความรู้ในกระบวนการควบคุมคุณภาพ

404023.03 158824

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

มีประสบการณ์ทำงานด้านบริหารงานหลังพิมพ์หนังสือไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือจบการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านเทคโนโลยีการพิมพ์ หรือที่เกี่ยวข้อง


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.  ความสามารถในการพัฒนามาตรฐานคุณภาพในงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม 



2.  ความสามารถในการจัดทำระบบเอกสารในการควบคุมคุณภาพงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม 



3.  ความสามารถในการจัดทำกระบวนการควบคุมคุณภาพในงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม 



4.  ความสามารถในการจัดฝึกอบรมบุคลากร

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1.    ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนต่าง ๆ ในงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม 



2.    ความรู้เกี่ยวกับคุณภาพงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม 



3.    ความรู้เกี่ยวกับการบริหารคุณภาพในงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม 



4.    ความรู้เกี่ยวกับการบริหารคุณภาพในระบบ ISO 9000



5.    ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการควบคุมคุณภาพในงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม



6.    ความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการจัดฝึกอบรม


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



      1. บันทึกรายการจากการสังเกต



      2.  บันทึกความคิดเห็นของหัวหน้างาน



      3.  เอกสารเกี่ยวกับมาตรฐานงานหลังพิมพ์หนังสือเล่มในทุกขั้นตอน



      4.  เอกสารที่ใช้ระบบควบคุมคุณภาพในงานหลังพิมพ์



      5.  เอกสารเกี่ยวกับการจัดทำกระบวนการควบคุมคุณภาพงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม



      6.   เอกสารเกี่ยวกับการจัดฝึกอบรมบุคลากรเกี่ยวกับการควบคุมคุณภาพงานหลังพิมพ์หนังสือเล่ม



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



      1.  แบบทดสอบ



       2. แบบสัมภาษณ์



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



       N/A



(ง) วิธีการประเมิน



       1. การประเมินความรู้ โดยใช้แบบทดสอบ และแบบสัมภาษณ์



      2. การประเมินทักษะจากการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยใช้การสังเกต เอกสารต่าง ๆ ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน และใบบันทึกความคิดเห็นจากหัวหน้างาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก)  คำแนะนำ



      N/A



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



       N/A


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 การสัมภาษณ์ (รายละเอียดตามคู่มือการประเมิน หน้า......)



18.2 การทดสอบโดยข้อสอบ (รายละเอียดตามคู่มือประเมินหน้า.......)



18.3 การสังเกตการณ์ปฏิบัติงานในสภาพจริง หรือสภาวะจำลอง หรือผลงาน



ยินดีต้อนรับ