หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

เตรียมวัสดุทางการพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่น

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PRT-PRS-2-249ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ เตรียมวัสดุทางการพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่น

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2562

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ช่างพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่น



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
เป็นผู้ที่สามารถปฏิบัติงานเตรียมวัสดุทางการพิมพ์สำหรับงานพิมพ์ออฟเซตป้อนแผ่น มีทักษะในการเตรียมกระดาษ น้ำยาฟาวน์เทน หมึกพิมพ์ แม่พิมพ์ ผ้ายาง และการรองหนุน

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ประกอบวิชาชีพงานพิมพ์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
303011

เตรียมวัสดุประเภทกระดาษ

1.1 ดูใบสั่งงานของโรงพิมพ์

303011.01 158253
303011

เตรียมวัสดุประเภทกระดาษ

1.2 ตรวจสอบน้ำหนักกระดาษตามใบสั่งงานของโรงพิมพ์ได้ถูกต้อง

303011.02 158254
303011

เตรียมวัสดุประเภทกระดาษ

1.3  ตรวจสอบผิวสัมผัสของกระดาษตามใบสั่งงานของโรงพิมพ์ได้ถูกต้อง

303011.03 158255
303011

เตรียมวัสดุประเภทกระดาษ

1.4 ตรวจสอบโดยวิธีการทดสอบเกรนกระดาษตามใบสั่งงานของโรงพิมพ์ได้ถูกต้อง

303011.04 158256
303011

เตรียมวัสดุประเภทกระดาษ

1.5 ตรวจสอบวัดขนาดกระดาษโดยใช้เครื่องมือวัดตามใบสั่งงานของโรงพิมพ์ได้ถูกต้อง

303011.05 158257
303011

เตรียมวัสดุประเภทกระดาษ

1.6 ตรวจสอบวัดความหนากระดาษโดยใช้เครื่องมือวัดตามใบสั่งงานของโรงพิมพ์ได้ถูกต้อง

303011.06 158258
303012

เตรียมวัสดุประเภทน้ำยาฟาวน์เทน

2.1  คำนวณและผสมน้ำยาฟาวน์เทน ตามมาตรฐานการพิมพ์ได้ถูกต้อง

303012.01 158259
303012

เตรียมวัสดุประเภทน้ำยาฟาวน์เทน

2.2 ตรวจสอบค่า pH และค่าการนำไฟฟ้า ตามข้อกำหนดของผู้ผลิตและการใช้งาน

303012.02 158260
303012

เตรียมวัสดุประเภทน้ำยาฟาวน์เทน

2.3 ตรวจสอบค่าความเข้มข้นแอลกอฮอล์(IPA) ตามข้อกำหนดของเครื่องพิมพ์

303012.03 158261
303012

เตรียมวัสดุประเภทน้ำยาฟาวน์เทน

2.4 ตรวจสอบอุณหภูมิและปรับอุณหภูมิ โดยใช้เครื่องมือวัดอุณหภูมิ

303012.04 158262
303012

เตรียมวัสดุประเภทน้ำยาฟาวน์เทน

2.5 ตรวจสอบค่ากระด้างของน้ำที่นำมาผสม และการเลือกใช้งาน

303012.05 158263
303013

เตรียมวัสดุประเภทหมึกพิมพ์

3.1  เลือกหมึกให้เหมาะสมกับงานตามใบสั่งของโรงพิมพ์

303013.01 158264
303013

เตรียมวัสดุประเภทหมึกพิมพ์

3.2  ผสมหมึกพิมพ์ ตามใบสั่งของโรงพิมพ์

303013.02 158265
303013

เตรียมวัสดุประเภทหมึกพิมพ์

3.3 สามารถใช้เครื่องมือในการวัดเทียบสี

303013.03 158266
303014

เตรียมวัสดุประเภทแม่พิมพ์

4.1  ทำการตรวจสอบแม่พิมพ์ตรงกับงานพิมพ์

303014.01 158267
303014

เตรียมวัสดุประเภทแม่พิมพ์

4.2 ทำการตรวจสอบความสมบูรณ์และถูกต้องของแม่พิมพ์

303014.02 158268
303014

เตรียมวัสดุประเภทแม่พิมพ์

4.3 เตรียมแม่พิมพ์สำหรับการติดตั้งบนโมแม่พิมพ์ได้ตามรูปแบบเครื่องพิมพ์

303014.03 158269
303015

เตรียมวัสดุประเภทผ้ายาง

3.1 เลือกให้เหมาะสมกับงาน และเครื่องพิมพ์

303015.01 158273
303015

เตรียมวัสดุประเภทผ้ายาง

3.2  ตรวจสอบโดยการใช้เครื่องมือวัดความหนาของผ้ายาง ตามคู่มือเครื่องพิมพ์

303015.02 158274
303015

เตรียมวัสดุประเภทผ้ายาง

3.3 ตรวจสอบขนาดและมุมฉากผ้ายางได้แนวของเครื่องพิมพ์

303015.03 158275
303016

เตรียมวัสดุประเภทรองหนุน

1.1  สามารถแยกประเภทของวัสดุรองหนุนของโมแม่พิมพ์และโมผ้ายางได้ถูกต้องกับเครื่องพิมพ์

303016.01 158280
303016

เตรียมวัสดุประเภทรองหนุน

1.2  สามารถตรวจสอบขนาดของวัสดุรองหนุนของแม่พิมพ์และโมผ้ายางได้ถูกต้องกับเครื่องพิมพ์

303016.02 158281
303016

เตรียมวัสดุประเภทรองหนุน

1.3 ความหนาของวัสดุรองหนุนของแม่พิมพ์และโมผ้ายางเหมาะสมกับเครื่องพิมพ์

303016.03 158282

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

1. มีประสบการณ์ทำงานด้านการพิมพ์มาไม่น้อยกว่า 1 ปี หรือวุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่า ม.6 หรือ ปวช.


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


  1. 1.มีทักษะการทำงานและการเลือกใช้เครื่องมือวัดที่เหมาะสมกับลักษณะของงานเบื้องต้นได้

  2. 2.มีทักษะและการเลือกใช้เครื่องมือวัดที่เหมาะสมกับลักษณะของงานเบื้องต้นได้

  3. 3. สามารถใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ ที่ใช้ในการวัดค่าต่าง ๆ ได้

  4. 4. สามารถเลือกหมึกให้เหมาะสมกับงานที่ได้รับตามใบสั่งของโรงพิมพ์

  5. 5. สามารถผสมหมึกพิมพ์ ตามใบสั่งของโรงพิมพ์

  6. 6. สามารถใช้เครื่องมือในการวัดเทียบสี วัดค่า และอ่านค่า จากเครื่องมือวัดได้

  7. 7. มีความรู้ ลักษณะการใช้งานของเครื่องเจาะรูแม่พิมพ์

  8. 8. สามารถใช้เครื่องมือวัดความหนาได้ เช่น ไมโครมิเตอร์

  9. 9.สามารถอ่านค่าจากเครื่องมือวัดได้อย่างถูกต้อง

  10. 10. มีทักษะการใช้เครื่องมือวัดตรวจสอบความหนา ขนาดของวัสดุรองหนุนแม่พิมพ์และโมผ้ายาง

(ข) ความต้องการด้านความรู้


  1. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคุณสมบัติกระดาษ

  2. มีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทดสอบมาตรฐานกระดาษ

  3. มีความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ

  4. มีความรู้เกี่ยวกับความเป็นกรด เบส ของน้ำ

  5. มีความรู้ค่าต่าง ๆ ตามมาตรฐานของโรงพิมพ์

  6. มีความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบ

  7. รู้จักการผสมสีให้ได้ตามใบสั่งงาน

  8. มีความรู้เกี่ยวกับแม่พิมพ์รวมทั้งเครื่องหมายสัญลักษณ์ต่าง ๆ ทางด้านการพิมพ์

  9. มีความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบแม่พิมพ์ที่สมบูรณ์

  10. สามารถแยกชนิดของผ้ายางในการใช้งานได้เหมาะสมกับลักษณะของงานพิมพ์ และเครื่องพิมพ์ได้

  11. ต้องรู้ประเภทวัสดุรองหนุนให้เหมาะสมกับงาน


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)




  1. ผลจากการเลือกกระดาษได้ถูกต้องตามใบสั่งงาน

  2. ผลจากการตรวจสอบน้ำหนักกระดาษ ขนาดกระดาษได้ถูกต้อง

  3. ผลจากการเลือกชนิดกระดาษได้ถูกต้อง

  4. ผลจากการเลือกเกรนกระดาษได้เหมาะสมกับงานพิมพ์

  5. ผลจากการเลือกกระดาษได้มุมฉาก

  6. ผลการวัดขนาดกระดาษโดยใช้เครื่องมือวัดตามใบสั่งงานของโรงพิมพ์ได้ถูกต้อง

  7. ผลการวัดความหนากระดาษโดยใช้เครื่องมือวัดตามใบสั่งงานของโรงพิมพ์ได้ถูกต้อง

  8. ผลการคำนวณและผสมน้ำยาฟาวน์เทน ตามมาตรฐานการพิมพ์

  9. ผลการใช้เครื่องมือในการตรวจสอบ ได้แก่ pH มิเตอร์ และเครื่องมืออื่น ๆ

  10. ผลของค่า pH ต้องอยู่ในช่วง 4.5-5.5 หรือตามมาตรฐานของโรงพิมพ์

  11. ผลการต้องผสมน้ำยาฟาวน์เทนในอัตราส่วนที่ทางผู้ผลิตกำหนด

  12. ผลการตรวจสอบอุณหภูมิและปรับอุณหภูมิ โดยใช้เครื่องมือวัดอุณหภูมิ

  13. ผลการตรวจสอบค่ากระด้างของน้ำที่นำมาผสม และการเลือกใช้งาน

  14. ผลจากการผสมสีที่ได้จากการผสมตามใบสั่งงาน

  15. ผลการตรวจสอบความสมบูรณ์ของแม่พิมพ์

  16. เลือกสีของแม่พิมพ์ได้ถูกต้องกับลำดับสีของโมพิมพ์

  17. แม่พิมพ์สะอาด ไม่มีร่องรอยขีดข่วน ตำแหน่งของภาพไม่เอียง

  18. ตรวจสอบแม่พิมพ์ได้ถูกต้อง

  19. เลือกผ้ายางได้เหมาะสมกับงานพิมพ์และเครื่องพิมพ์

  20. ใช้เครื่องมือวัดตรวจสอบความหนาของผ้ายาง

  21. ตรวจสอบผ้ายางได้ถูกต้อง

  22. เลือกวัสดุรองหนุนได้ถูกต้อง

  23. ความหนาของวัสดุรองหนุนถูกต้อง

  24. ใช้ไมโครมิเตอร์ในการตรวจสอบความหนาได้ถูกต้อง



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



1. ทำงานได้ถูกต้องและรวดเร็ว



2. ความรู้เกี่ยวกับคุณลักษณะและวิธีการใช้เครื่องมือ



3. มีความรู้เกี่ยวกับคุณสมบัติของน้ำยาฟาวน์เทน



4. มีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับแอลกอฮอล์



5. สามารถแยกชนิดของหมึกพิมพ์ที่ใช้ในการผลิตงานได้ตามลักษณะของงานพิมพ์



6. มีหลักการผสมหมึก การตรวจสอบสี การมองสี และการเทียบสี



7. ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบแม่พิมพ์ที่สมบูรณ์



8. ความรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบผ้ายางที่สมบูรณ์



9. ต้องรู้ประเภทของผ้ายางที่เหมาะสมกับงานพิมพ์



10. รู้ข้อกำหนดในการรองหนุนของเครื่องพิมพ์



11. มีความรู้ทางด้านการคำนวณวัสดุรองหนุน



(ก) คำแนะนำในการประเมิน



      N/A



(ข) วิธีการประเมิน



     N/A


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ




  1. สามารถดูใบสั่งงานของโรงพิมพ์และนำมาปฏิบัติตามใบสั่งงาน

  2. สามารถเลือกใช้เครื่องมือในการตรวจสอบน้ำหนักกระดาษ ขนาดกระดาษ เช่น ไม้บรรทัด ไมโครมิเตอร์

  3. สามารถแยกชนิดของกระดาษจากการสังเกตและหรือสัมผัส เลือกชนิดกระดาษ

  4. มีวิธีการทดสอบหาแนวเกรนกระดาษ สามารถเลือกแนวเกรนกระดาษได้ตามใบสั่งงาน

  5. มีวิธีการวัดขนาดกระดาษโดยใช้เครื่องมือวัดตามใบสั่งงานของโรงพิมพ์

  6. มีวิธีการวัดความหนากระดาษโดยใช้เครื่องมือวัดตามใบสั่งงานของโรงพิมพ์

  7. คำนวณและผสมน้ำยาฟาวน์เทน ตามมาตรฐานการพิมพ์

  8. ใช้เครื่องมือในการตรวจสอบ ได้แก่ pH มิเตอร์ และเครื่องมืออื่น ๆ

  9. ค่า pH ต้องอยู่ในช่วง 4.5-5.5 หรือตามมาตรฐานของโรงพิมพ์

  10. ต้องผสมน้ำยาฟาวน์เทนในอัตราส่วนที่ทางผู้ผลิตกำหนด

  11. ตรวจสอบอุณหภูมิและปรับอุณหภูมิ โดยใช้เครื่องมือวัดอุณหภูมิ

  12. ตรวจสอบค่ากระด้างของน้ำที่นำมาผสม และการเลือกใช้งาน

  13. สามารถเลือกหมึกให้เหมาะสมกับงานที่ได้รับตามใบสั่งของโรงพิมพ์

  14. สามารถผสมหมึกพิมพ์ ตามใบสั่งของโรงพิมพ์

  15. สามารถใช้เครื่องมือในการวัดเทียบสี

  16. ตรวจเช็คความถูกต้องของแม่พิมพ์ กับงานพิมพ์ ตามแบบที่กำหนดให้

  17. ตรวจสอบแม่พิมพ์ทั้งการใช้เครื่องมือในการตรวจสอบและการสังเกต เช็คเครื่องหมายต่าง ๆ ของแม่พิมพ์ และแถบควบคุมต่าง ๆ บนแม่พิมพ์มีความถูกต้องตามที่กำหนดมาเตรียมแม่พิมพ์ที่พร้อมในการติดตั้งทั้งการเตรียมรองหนุน และทำการเจาะรูแม่พิมพ์

  18. เลือกชนิดของผ้ายางได้เหมาะสมกับงาน และเครื่องพิมพ์ที่ได้รับมอบหมาย

  19. ตรวจสอบผ้ายางโดยการใช้เครื่องมือวัดความหนาของผ้ายาง ตามคู่มือเครื่องพิมพ์

  20. ตรวจสอบขนาดและมุมฉากผ้ายางได้แนวของเครื่องพิมพ์

  21. สามารถแยกประเภทของวัสดุรองหนุนของแม่พิมพ์และโมผ้ายางได้ถูกต้องกับเครื่องพิมพ์

  22. สามารถตรวจสอบขนาดของวัสดุรองหนุนของแม่พิมพ์และโมผ้ายางได้ถูกต้องกับเครื่องพิมพ์

  23. ความหนาของวัสดุรองหนุนของแม่พิมพ์และโมผ้ายางเหมาะสมกับเครื่องพิมพ์



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



     N/A


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 การทดสอบโดยข้อสอบ (รายละเอียดตามคู่มือประเมินหน้า.......)



18.2 การทดสอบโดยการประเมินการปฏิบัติงาน (รายละเอียดตามคู่มือประเมินหน้า.......)



18.3 การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน (รายละเอียดตามคู่มือประเมินหน้า.......)



ยินดีต้อนรับ