หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์

สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการพิมพ์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ PRT-PRS-4-263ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ตรวจสอบคุณภาพงานพิมพ์

3. ทบทวนครั้งที่ 1 / 2562

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ช่างพิมพ์ออฟเซตป้อนม้วน



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
        เป็นผู้ที่สามารถปฏิบัติงานตรวจสอบคุณภาพการพิมพ์สำหรับงานพิมพ์ออฟเซตป้อนม้วน โดยใช้เครื่องมือวัดต่าง ๆ ในการตรวจสอบคุณภาพ ให้ได้คุณภาพตรงตามข้อกำหนดคุณภาพ และมาตรฐานการพิมพ์ที่โรงพิมพ์กำหนดไว้ และแก้ปัญหางานพิมพ์ที่เกิดขึ้นเป็นประจำได้ 

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ประกอบวิชาชีพงานพิมพ์

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ช่างพิมพ์ออฟเซต

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
304041

ปรับความเที่ยงตรงของตำแหน่งพิมพ์แต่ละสี (registration)

1.1  สุ่มตัวอย่างสิ่งพิมพ์ได้ตามข้อกำหนดโรงพิมพ์หรือมาตรฐานอื่น ๆ

304041.01 158577
304041

ปรับความเที่ยงตรงของตำแหน่งพิมพ์แต่ละสี (registration)

1.2 ใช้เครื่องมือวัดความเที่ยงตรงของตำแหน่งพิมพ์ได้อย่างถูกต้อง

304041.02 158578
304041

ปรับความเที่ยงตรงของตำแหน่งพิมพ์แต่ละสี (registration)

1.3 อ่านค่าและปรับให้ตำแหน่งพิมพ์ของแต่ละสีให้อยู่ในตำแหน่งเดียวกัน

304041.03 158579
304042

ตรวจวัดค่าความดำพื้นทึบ (solid ink density)

2.1 สุ่มตัวอย่างสิ่งพิมพ์ได้ตามข้อกำหนดโรงพิมพ์หรือมาตรฐานอื่น ๆ

304042.01 158580
304042

ตรวจวัดค่าความดำพื้นทึบ (solid ink density)

2.2  เตรียมเครื่องมือวัดค่าความดำพื้นทึบได้อย่างถูกต้อง

304042.02 158581
304042

ตรวจวัดค่าความดำพื้นทึบ (solid ink density)

2.3 ปรับตั้งค่าเครื่องมือวัดได้ตามคู่มือปฏิบัติงาน

304042.03 158582
304042

ตรวจวัดค่าความดำพื้นทึบ (solid ink density)

2.4 วัดค่าความดำพื้นทึบด้วยเครื่องมือวัดค่าความดำพื้นทึบได้อย่างถูกต้อง

304042.04 158583
304042

ตรวจวัดค่าความดำพื้นทึบ (solid ink density)

2.5 ตรวจสอบค่าความดำของสีภาพพิมพ์ให้มีค่าถูกต้องตรงกับตัวอย่างงานพิมพ์  แผ่นปรู๊ฟหรือได้มาตรฐานการพิมพ์ที่กำหนด

304042.05 158584
304042

ตรวจวัดค่าความดำพื้นทึบ (solid ink density)

2.6 ตรวจสอบสีภาพพิมพ์จากผลงานที่ออกมาให้มีสีตรงกับตัวอย่างงานพิมพ์

304042.06 158585
304042

ตรวจวัดค่าความดำพื้นทึบ (solid ink density)

2.7 บำรุงรักษาเครื่องมือวัด

304042.07 158586
304043

ตรวจสอบการปรับระยะตัดให้ตรงกับตำแหน่งภาพพิมพ์

3.1 ตรวจสอบการปรับตำแหน่งเครื่องหมายพับให้ตรงกับระยะพับ

304043.01 158587
304043

ตรวจสอบการปรับระยะตัดให้ตรงกับตำแหน่งภาพพิมพ์

3.2 ตรวจสอบการปรับเครื่องหมายรีจิสเตอร์แต่ละสีบนภาพพิมพ์ให้ตรงกัน

304043.02 158588
304044

ตรวจสอบการปรับสีภาพพิมพ์ (ปริมาณการจ่ายหมึก และสมดุลน้ำ-หมึก)

4.1 ตรวจสอบการปรับสมดุลการจ่ายน้ำและหมึกพิมพ์ ให้ถูกต้อง

304044.01 158589
304044

ตรวจสอบการปรับสีภาพพิมพ์ (ปริมาณการจ่ายหมึก และสมดุลน้ำ-หมึก)

4.2  ตรวจสอบสีภาพพิมพ์ให้ถูกต้องตามแผ่นปรู๊ฟสี

304044.02 158590
304044

ตรวจสอบการปรับสีภาพพิมพ์ (ปริมาณการจ่ายหมึก และสมดุลน้ำ-หมึก)

4.3 ตรวจสอบการควบคุมความสม่ำเสมอของสีบนภาพพิมพ์แต่ละฉบับ (เล่ม)

304044.03 158591
304045

ตรวจสอบความถูกต้องของภาพพิมพ์

5.1 ตรวจสอบการเปรียบเทียบภาพพิมพ์กับภาพต้นฉบับ ให้มีสีถูกต้องและใกล้เคียงที่สุด

304045.01 158592
304045

ตรวจสอบความถูกต้องของภาพพิมพ์

5.2 ตรวจสอบตำแหน่งภาพพิมพ์ให้ถูกต้อง

304045.02 158593

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

1. มีประสบการณ์ทำงานด้านการพิมพ์มาไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือวุฒิการศึกษาไม่ต่ำกว่า ปวส. ด้านการพิมพ์



2. ผ่าน 30408 ความปลอดภัยในการทำงานด้านพิมพ์ออฟเซตป้อนม้วน



3. ผ่าน 30409 ความปลอดภัยในโรงพิมพ์


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ


  1. การตรวจสอบตำแหน่งภาพพิมพ์แต่ละสีให้ตรงกันโดยใช้เครื่องมือตรวจสอบ

  2. การเตรียมและปรับตั้งเครื่องมือวัดตามคู่มือได้อย่างถูกต้องก่อนนำมาใช้งาน

  3. การใช้เครื่องวัดค่าความดำวัดค่าความดำพื้นทึบ

  4. การอ่านค่าและวิเคราะห์ผลได้

  5. การดูแลบำรุงรักษาเครื่องมือวัด

  6. การตรวจสอบสีภาพพิมพ์เปรียบเทียบสีตัวอย่างงานพิมพ์

  7. ตรวจสอบการปรับตำแหน่งเครื่องหมายพับให้ตรงกับระยะพับ

  8. ตรวจสอบการปรับเครื่องหมายรีจิสเตอร์แต่ละสีบนภาพพิมพ์ให้ตรงกัน

  9. ตรวจสอบการปรับสมดุลการจ่ายน้ำและหมึกพิมพ์ ให้ถูกต้อง

  10. ตรวจสอบสีภาพพิมพ์ให้ถูกต้องตามแผ่นปรู๊ฟสี

  11. ตรวจสอบการปรับการจ่ายหมึกพิมพ์แต่ละสีเพื่อให้สีถูกต้องตามแผ่นปรู๊ฟสี

  12. ตรวจสอบการควบคุมความสม่ำเสมอของสีบนภาพพิมพ์แต่ละฉบับ (เล่ม)

  13. ตรวจสอบการเปรียบเทียบภาพพิมพ์กับภาพต้นฉบับ ให้มีสีถูกต้องและใกล้เคียงที่สุด

  14. ตรวจสอบตำแหน่งภาพพิมพ์ให้ถูกต้อง

(ข) ความต้องการด้านความรู้


  1. คุณภาพงานพิมพ์ออฟเซต

  2. ความรู้เกี่ยวกับแถบควบคุมคุณภาพการพิมพ์

  3. ความรู้พื้นฐานและทฤษฎีการวัดค่าความดำพื้นทึบ

  4. การสุ่มตัวอย่างงานพิมพ์

  5. ขั้นตอนการวัดค่าความดำพื้นทึบ

  6. ข้อกำหนดคุณภาพการพิมพ์ ประกอบด้วยค่าความดำพื้นทึบมาตรฐานที่กำหนดโดยโรงพิมพ์  สมาคมวิชาชีพ หรือมาตรฐานสากล

  7. ตรวจสอบการปรับตำแหน่งเครื่องหมายพับให้ตรงกับระยะพับ

  8. ตรวจสอบการปรับเครื่องหมายรีจิสเตอร์แต่ละสีบนภาพพิมพ์ให้ตรงกัน

  9. ตรวจสอบการปรับสมดุลการจ่ายน้ำและหมึกพิมพ์ ให้ถูกต้อง

  10. ตรวจสอบสีภาพพิมพ์ให้ถูกต้องตามแผ่นปรู๊ฟสี

  11. ตรวจสอบการปรับการจ่ายหมึกพิมพ์แต่ละสีเพื่อให้สีถูกต้องตามแผ่นปรู๊ฟสี

  12. ตรวจสอบการควบคุมความสม่ำเสมอของสีบนภาพพิมพ์แต่ละฉบับ (เล่ม)

  13. ตรวจสอบการเปรียบเทียบภาพพิมพ์กับภาพต้นฉบับ ให้มีสีถูกต้องและใกล้เคียงที่สุด

  14. ตรวจสอบตำแหน่งภาพพิมพ์ให้ถูกต้อง


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)




  1. บันทึกรายการจากการสังเกต

  2. บันทึกความคิดเห็นของหัวหน้างาน

  3. ผลงานพิมพ์ที่มีปรับตำแหน่งภาพพิมพ์แต่ละสีได้ตรงกัน

  4. เครื่องมือวัดค่าความดำอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและมีการปรับตั้งให้อ่านค่าได้ถูกต้อง  

  5. รายงานการวัดและวิเคราะห์ค่าความดำพื้นทึบ

  6. ผลงานพิมพ์ที่มีสีภาพพิมพ์ถูกต้องตรงกับตัวอย่างงานพิมพ์

  7. ตรวจสอบการปรับตำแหน่งเครื่องหมายพับให้ตรงกับระยะพับ

  8. ตรวจสอบการปรับเครื่องหมายรีจิสเตอร์แต่ละสีบนภาพพิมพ์ให้ตรงกัน

  9. ตรวจสอบการปรับสมดุลการจ่ายน้ำและหมึกพิมพ์ ให้ถูกต้อง

  10. ตรวจสอบสีภาพพิมพ์ให้ถูกต้องตามแผ่นปรู๊ฟสี

  11. ตรวจสอบการปรับการจ่ายหมึกพิมพ์แต่ละสีเพื่อให้สีถูกต้องตามแผ่นปรู๊ฟสี

  12. ตรวจสอบการควบคุมความสม่ำเสมอของสีบนภาพพิมพ์แต่ละฉบับ (เล่ม)

  13. ตรวจสอบการเปรียบเทียบภาพพิมพ์กับภาพต้นฉบับ ให้มีสีถูกต้องและใกล้เคียงที่สุด

  14. ตรวจสอบตำแหน่งภาพพิมพ์ให้ถูกต้อง



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



    1.  แบบสัมภาษณ์



    2.  แบบทดสอบ



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



      การประเมินการตรวจสอบคุณภาพการพิมพ์ออฟเซต ต้องมีเครื่องมือวัดต่าง ๆ  โดยต้องมีการตรวจรายการเครื่องมือวัด และต้องมีข้อกำหนดคุณภาพเพื่อใช้เป็นเกณฑ์ในการควบคุมคุณภาพ 



(ง) วิธีการประเมิน



    1. การประเมินความรู้ โดยใช้แบบทดสอบและการสัมภาษณ์



    2. การประเมินทักษะจากการประเมินผลการปฏิบัติงาน โดยใช้การสังเกต และใบบันทึกความคิดเห็นจากหัวหน้างาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ




  1. เครื่องมือตรวจสอบความเที่ยงตรงของตำแหน่งพิมพ์เช่น กล้องส่องเม็ดสกรีน  แว่นขยายประมาณ 8-10 เท่า เป็นต้น

  2. ตำแหน่งฉากพิมพ์ของทุกสีต้องจะต้องอยู่ในตำแหน่งเดียวกันหรือมีค่าตามที่โรงพิมพ์หรือมาตรฐานกำหนด

  3. การดูแลและบำรุงรักษาเครื่องมือตรวจสอบ ได้แก่ การทำความสะอาด การตรวจสอบสภาพด้วยตาเปล่า

  4. เครื่องมือตรวจวัดค่าความดำพื้นทึบ เช่น เครื่องวัดความดำ (densitometer) เครื่องสเปกโทรเดนซิโตมีเตอร์ (spectrodensitometer)

  5. การเตรียมเครื่องมือวัดความดำ ได้แก่ การอุ่นเครื่องและการปรับเทียบค่ามาตรฐาน (calibration)

  6. การปรับตั้งสภาวะการวัดค่า ได้แก่  การตั้งสีขาวอ้างอิง การกำหนด status E

  7. ตำแหน่งในการวัดค่าความดำพื้นทึบ คือ แถบพื้นทึบของหมึกพิมพ์ในแต่ละสีบนแถบควบคุมการพิมพ์ (control strip)

  8. ค่าความดำพื้นทึบหมึกพิมพ์สีน้ำเงินเขียว ม่วงแดง และเหลืองมีค่า 1.45 ± 0.10 และหมึกพิมพ์สีดำมีค่า 1.90 ± 0.20สำหรับกระดาษเคลือบผิว

  9. ตรวจสอบการปรับตำแหน่งเครื่องหมายพับให้ตรงกับระยะพับ

  10. ตรวจสอบการปรับเครื่องหมายรีจิสเตอร์แต่ละสีบนภาพพิมพ์ให้ตรงกัน

  11. ตรวจสอบการปรับสมดุลการจ่ายน้ำและหมึกพิมพ์ ให้ถูกต้อง

  12. ตรวจสอบสีภาพพิมพ์ให้ถูกต้องตามแผ่นปรู๊ฟสี

  13. ตรวจสอบการปรับการจ่ายหมึกพิมพ์แต่ละสีเพื่อให้สีถูกต้องตามแผ่นปรู๊ฟสี

  14. ตรวจสอบการควบคุมความสม่ำเสมอของสีบนภาพพิมพ์แต่ละฉบับ (เล่ม)

  15. ตรวจสอบการเปรียบเทียบภาพพิมพ์กับภาพต้นฉบับ ให้มีสีถูกต้องและใกล้เคียงที่สุด

  16. ตรวจสอบตำแหน่งภาพพิมพ์ให้ถูกต้อง



(ข) คำอธิบายรายละเอียด




  1. วิธีการและขั้นตอนการตรวจสอบตำแหน่งภาพพิมพ์แต่ละสีให้ตรงกัน

  2. วิธีการและขั้นตอนการวัดค่าความดำพื้นทึบด้วยเครื่องวัดความดำ

  3. วิธีการใช้และบำรุงรักษาเครื่องวัดความดำ


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 การทดสอบโดยข้อสอบ (รายละเอียดตามคู่มือประเมินหน้า.......)



18.2 การทดสอบโดยการประเมินการปฏิบัติงาน (รายละเอียดตามคู่มือประเมินหน้า.......)



18.3 การประเมินพฤติกรรมการปฏิบัติงาน (รายละเอียดตามคู่มือประเมินหน้า.......)



ยินดีต้อนรับ