หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

กำหนดแนวทางการประกันคุณภาพงานก่อสร้าง

สาขาวิชาชีพธุรกิจอสังหาริมทรัพย์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ RES-RPM-6-114ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ กำหนดแนวทางการประกันคุณภาพงานก่อสร้าง

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)


ผู้ควบคุมงานก่อสร้างโครงการอสังหาริมทรัพย์



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับการวางกรอบแนวทางการประกันคุณภาพงานก่อสร้าง dการกำหนดแนวทาง เงื่อนไขการประกันผลงานก่อสร้าง และการประเมินผลและสรุปผลการประกันผลงานก่อสร้าง

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ผู้ควบคุมงานก่อสร้างโครงการอสังหาริมทรัพย์สถาปนิก วิศวกร นักการเงิน นิสิต นักศึกษา (สาขาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์) หรือผู้ประกอบการหรือควบคุมงานก่อสร้าง หรือบริหารงานโครงการ (ที่มีความสนใจเป็นผู้ควบคุมงานก่อสร้างโครงการ)

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
12303.01 วางกรอบแนวทางการประกันคุณภาพงานก่อสร้าง 1. กำหนดระยะเวลางานประกันคุณภาพงานก่อสร้าง 12303.01.01 57189
12303.01 วางกรอบแนวทางการประกันคุณภาพงานก่อสร้าง 2. กำหนดขอบเขตของการประกันคุณภาพงาน 12303.01.02 57190
12303.01 วางกรอบแนวทางการประกันคุณภาพงานก่อสร้าง 3. จัดทำคู่มือการประกันคุณภาพงานก่อสร้าง 12303.01.03 57191
12303.01 วางกรอบแนวทางการประกันคุณภาพงานก่อสร้าง 4. จัดทำเอกสารรวบรวมรายการวัสดุทั้งหมดที่ใช้ภายในอาคาร 12303.01.04 57192
12303.02 กำหนดแนวทางเงื่อนไขของการประกันผลงานก่อสร้าง 1.กำหนดประเภทงานประกันคุณภาพงานก่อสร้าง 12303.02.01 57193
12303.02 กำหนดแนวทางเงื่อนไขของการประกันผลงานก่อสร้าง 2.กำหนดวันส่งมอบงาน 12303.02.02 57194
12303.02 กำหนดแนวทางเงื่อนไขของการประกันผลงานก่อสร้าง 3. กำหนดวันเริ่มรับประกันคุณภาพงานก่อสร้าง 12303.02.03 57195
12303.02 กำหนดแนวทางเงื่อนไขของการประกันผลงานก่อสร้าง 4. กำหนดวันสิ้นสุดการประกันคุณภาพงานก่อสร้าง 12303.02.04 57196
12303.03 ประเมินผลและสรุปผลการประกันผลงานก่อสร้าง 1. ประเมินผลการดำเนินงานจากแผนงาน 12303.03.01 57197
12303.03 ประเมินผลและสรุปผลการประกันผลงานก่อสร้าง 2. ประเมินข้อแก้ไขในส่วนของการประกันผลงาน 12303.03.02 57198

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)


มีความรู้พื้นฐานในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เบื้องต้น หรือควบคุมงานก่อสร้างหรือบริหารงานโครงการ และมีประสบการณ์ทำงานในอาชีพที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

    1.วางกรอบแนวทางการประกันคุณภาพงานก่อสร้าง

        0.1 1. กำหนดระยะเวลางานประกันคุณภาพงานก่อสร้าง

        0.2 2. กำหนดขอบเขตของการประกันคุณภาพงาน

        0.3 3. จัดทำคู่มือการประกันคุณภาพงานก่อสร้าง

        0.4 4. จัดทำเอกสารรวบรวมรายการวัสดุทั้งหมดที่ใช้ภายในอาคาร

    1.กำหนดแนวทางเงื่อนไขของการประกันผลงานก่อสร้าง

        0.5 1.กำหนดประเภทงานประกันคุณภาพงานก่อสร้าง

        0.6 2.กำหนดวันส่งมอบงาน

        0.7 3. กำหนดวันเริ่มรับประกันคุณภาพงานก่อสร้าง

        0.8 4. กำหนดวันสิ้นสุดการประกันคุณภาพงานก่อสร้าง

    1.ประเมินผลและสรุปผลการประกันผลงานก่อสร้าง

        0.9 1. ประเมินผลการดำเนินงานจากแผนงาน

        0.10 2. ประเมินข้อแก้ไขในส่วนของการประกันผลงาน

(ข) ความต้องการด้านความรู้

เป็นการวัดความสามารถในการจดจาเรื่องราวข้อเท็จจริงกฎเกณฑ์ต่างๆที่บุคคลได้เรียนรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆด้วยคำถามวัดความรู้แบ่งออกเป็น 3 – 4 ชนิด



- มีความรู้ในเนื้อหาอาทิเช่นเช่นศัพท์คำนิยมกฎความจริงข้อมูลเชิงความรู้เบื้องต้น



- มีความเข้าใจในวิธีการดำเนินการกระบวนการ ขั้นตอนของการปฏิบัติงานและหลักเกณฑ์ต่างๆเป็นต้น



- มีความเข้าใจ ประยุกต์ในการสร้างแผน และแบบแผนการทำงานได้



- มีการประมวลความรู้รวบยอดเป็นการถามความสามารถในการจดจำข้อสรุปของงานที่รับผิดชอบได้



- มีความเข้าใจในวิชาชีพตนเองดำเนินงานอยู่ได้เป็นอย่างดี



ความต้องการด้านคุณสมบัติที่พึงประสงค์



      การวัดลักษณะผู้ปฏิบัติงาน “สาขาวิชาชีพธุรกิจอสังหาริมทรัพย์”ที่ต้องพึงมีเพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย



- มีความละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงานรวมถึงปฏิบัติงานด้วยความประณีต



- มีความรับผิดชอบตรงต่อเวลา



- มีความซื่อสัตย์โปร่งใสตรวจสอบได้ปฏิบัติงานตามความเป็นจริงตรงไปตรงมา



- ปฏิบัติงานตามระเบียบแบบแผนข้อกำหนด



- มีคุณธรรมความเสียสละไม่เอารัดเอาเปรียบต่อเพื่อนร่วมงาน



- มีใจรักในงานบริการปฏิบัติงานด้วยหลักการให้บริการที่ดี



- มีปฏิภาณไหวพริบสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้



- มีความเข้าใจในขอบเขตโครงการที่ตนเองกำกับดูแล


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)


หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge



หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



- เอกสารงานที่ปฏิบัติเช่นรายงานการประมวลผลจากแบบบันทึกข้อมูล



- เอกสารรับรองการทำงานเช่นหนังสือรับรองประสบการณ์การทางานจากเจ้าของอาชีพในสถานประกอบการแบบประเมินงานจากหัวหน้างาน



- แฟ้มสะสมงานเช่นภาพถ่ายสมุดบันทึกการปฏิบัติงานประจำวัน (Log Book)



- เอกสารใบประกอบวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง (สถาปัตยกรรม และวิศวกรรม)



หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



- เอกสารรับรองความรู้เช่นใบวุฒิบัตรใบประกาศนียบัตรต่างๆหรือแบบรายงานผลความรู้จากหน่วยงานที่มีความน่าเชื่อถือ หรือสถานประกอบการที่ปฏิบัติงาน



- แฟ้มสะสมงานเช่นภาพถ่ายสมุดบันทึกการเรียนรู้ของผู้ปฏิบัติงาน (Learning Book)



- แบบบันทึกผลการสัมภาษณ์



คำแนะนำในการประเมิน



      หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงสมรรถนะในส่วนนี้ ต้องมีความสัมพันธ์และตอบโจทย์ตามข้อกำหนดของสมรรถนะย่อย และเกณฑ์การปฏิบัติงานในหน่วยสมรรถนะนี้ โดยหลักฐานในที่นี้ ต้องแสดงถึง



- ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง และวิธีการปฏิบัติงาน



- ให้พิจารณาตามหลักฐานของความรู้และความเข้าใจในขอบเขตงานที่รับผิดชอบ



- ความเข้าใจในประเด็นต่างๆ ของเนื้อหาที่จะประเมิน


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้ จะระบุถึงข้อกำหนดการปฏิบัติงานและข้อมูล/เอกสาร



- การประกันคุณภาพงานก่อสร้าง หมายถึงการบริหารจัดการควบคุมการดำเนินงานก่อสร้าง เพื่อให้มีคุณภาพของสิ่งปลูกสร้างที่ดี และถูกต้องตามคุณลักษณะที่กำหนดไว้ โดยมีมาตรฐานคุณภาพ



- ข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ได้แก่ ข้อมูลจากเอกสาร, ข้อมุลจากบุคคล, ข้อมูลจากประสบการณ์



- องค์ประกอบของแผนปฏิบัติงานจัดหาข้อมูลเบื้องต้น ได้แก่ วิธีการจัดหา ระยะเวลา งบประมาณและอุปกรณ์ที่ใช้



- การจัดหาข้อมูลเบื้องต้น ได้แก่ การค้นคว้าจากแหล่งเอกสารข้อมูล, การสัมภาษณ์บุคคล, การลงพื้นที่และการทดลองทำ



- การจัดแบ่งข้อมูลเบื้องต้นต้องสอดคล้องกับการปฏิบัติเพื่อนำไปสู่การค้นหาข้อมูลแบบเจาะจง



- องค์ประกอบความพร้อมของข้อมูลเบื้องต้น ได้แก่ ปริมาณของข้อมูลเบื้องต้นมีเพียงพอ


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
สมาคมวิศวกรรมสถาน ในพระบรมราชูปถัมภ์(กลุ่มงานวิศวกรรมบริหารงานก่อสร้าง)

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)


- ด้านความรู้




- ด้านทักษะ




- ด้านคุณสมบัติที่พึงประสงค์



 


ยินดีต้อนรับ