หน่วยสมรรถนะ
วิเคราะห์ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ
สาขาวิชาชีพธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | RES-RPD-6-017ZB |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | วิเคราะห์ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการ |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
|
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
บุคคลที่ทำหน้าที่วิเคราะห์ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการสามารถที่จะวิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงินในการลงทุนของโครงการ ได้ |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
นักวิเคราะห์โครงการอสังหาริมทรัพย์ สถาปนิก วิศวกร นักการเงิน นิสิต นักศึกษา (สาขาธุรกิจอสังหาริมทรัพย์) หรือผู้ประกอบการ (ที่มีความสนใจเป็นนักวิเคราะห์โครงการ) |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
ไม่ระบุ |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
ไม่ระบุ |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
10302.01 วิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงินในการลงทุนของโครงการ | 1. คำนวณผลตอบแทนด้านการเงินในการลงทุนของโครงการ | 10302.01.01 | 56903 |
10302.01 วิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงินในการลงทุนของโครงการ | 2.วิเคราะห์ความคุ้มค่า ความเสี่ยงทางการเงินของโครงการ | 10302.01.02 | 56904 |
10302.01 วิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงินในการลงทุนของโครงการ | 3. จัดทำบันทึกการวิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงินวิเคราะห์ความคุ้มค่าความเสี่ยงในการลงทุนของโครงการ | 10302.01.03 | 56905 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
|
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ 1.วิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงินในการลงทุนของโครงการ 0.1 1. คำนวณผลตอบแทนด้านการเงินในการลงทุนของโครงการ 0.2 2.วิเคราะห์ความคุ้มค่า ความเสี่ยงทางการเงินของโครงการ 0.3 3. จัดทำบันทึกการวิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงินวิเคราะห์ความคุ้มค่าความเสี่ยงในการลงทุนของโครงการ (ข) ความต้องการด้านความรู้ การวัดลักษณะผู้ปฏิบัติงาน “สาขาวิชาชีพธุรกิจอสังหาริมทรัพย์”ที่ต้องพึงมีเพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย - มีความละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงานรวมถึงปฏิบัติงานด้วยความประณีต - มีความรับผิดชอบตรงต่อเวลา - มีความซื่อสัตย์โปร่งใสตรวจสอบได้ปฏิบัติงานตามความเป็นจริงตรงไปตรงมา - ปฏิบัติงานตามระเบียบแบบแผนข้อกำหนด - มีคุณธรรมความเสียสละไม่เอารัดเอาเปรียบต่อเพื่อนร่วมงาน - มีใจรักในงานบริการปฏิบัติงานด้วยหลักการให้บริการที่ดี - มีปฏิภาณไหวพริบสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence) - เอกสารงานที่ปฏิบัติเช่นรายงานการประมวลผลจากแบบบันทึกข้อมูล - เอกสารรับรองการทำงานเช่นหนังสือรับรองประสบการณ์การทางานจากเจ้าของอาชีพในสถานประกอบการแบบประเมินงานจากหัวหน้างาน - แฟ้มสะสมงานเช่นภาพถ่ายสมุดบันทึกการปฏิบัติงานประจำวัน (Log Book) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence) - เอกสารรับรองความรู้เช่นใบวุฒิบัตรใบประกาศนียบัตรต่างๆหรือแบบรายงานผลความรู้จากหน่วยงานที่มีความน่าเชื่อถือ หรือสถานประกอบการที่ปฏิบัติงาน - แฟ้มสะสมงานเช่นภาพถ่ายสมุดบันทึกการเรียนรู้ของผู้ปฏิบัติงาน (Learning Book) - แบบบันทึกผลการสัมภาษณ์ คำแนะนำในการประเมิน หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงสมรรถนะในส่วนนี้ ต้องมีความสัมพันธ์และตอบโจทย์ตามข้อกำหนดของสมรรถนะย่อย และเกณฑ์การปฏิบัติงานในหน่วยสมรรถนะนี้ โดยหลักฐานในที่นี้ ต้องแสดงถึง - ผู้ประเมินตรวจประเมินเกี่ยวกับการวิเคราะห์ผลตอบแทนที่คาดว่าจะได้รับจากโครงการโดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานด้านการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้ในสำรวจวิเคราะห์ผลตอบแทนด้านการเงินในการลงทุนของโครงการ |
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
ขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้ จะระบุถึงข้อกำหนดการปฏิบัติงานและข้อมูล/เอกสาร - ความเสี่ยงทางการเงินของโครงการ ประกอบด้วย งบกระแสเงินสดไม่เพียงพอกิจกรรมเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างผิดพลาด, ไม่มีตารางระยะเวลาในการก่อสร้างที่ชัดเจน ข้อมูลค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกิดขึ้นในระหว่างการก่อสร้างสูง - ข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ได้แก่ ประเภทของข้อมูล, ข้อมูลจากเอกสาร, ข้อมูลจากบุคคล, ข้อมูลจากประสบการณ์ - องค์ประกอบของแผนปฏิบัติงานจัดหาข้อมูลเบื้องต้น ได้แก่ วิธีการจัดหา ระยะเวลา งบประมาณและอุปกรณ์ที่ใช้ - การจัดหาข้อมูลเบื้องต้น ได้แก่ การค้นคว้าจากแหล่งเอกสารข้อมูล, การสัมภาษณ์บุคคล, การลงพื้นที่และการทดลองทำ - การจัดแบ่งข้อมูลเบื้องต้นสอดคล้องกับการปฏิบัติงานเพื่อนำไปสู่การค้นหาข้อมูลแบบเจาะจงต่อไป - องค์ประกอบความพร้อมของข้อมูลเบื้องต้น ได้แก่ ปริมาณของข้อมูลเบื้องต้นมีเพียงพอ |
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
ไม่ระบุ |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
ไม่ระบุ |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
|