หน่วยสมรรถนะ
วิเคราะห์ข้อมูลพัฒนาโครงการต่อไป
สาขาวิชาชีพธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | RES-RAE-4-054ZB |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | วิเคราะห์ข้อมูลพัฒนาโครงการต่อไป |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
|
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อช่วยในการวิเคราะห์ การกำหนดกลยุทธ์การแข่งขัน การกำหนดกระบวนการทางธุรกิจ รวมไปถึงการวิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหา |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
นักจัดการลูกค้าสัมพันธ์โครงการอสังหาริมทรัพย์นักการตลาด นักการขาย ผู้ประกอบการ หรือบุคลากรที่ดำเนินงานในสถานประกอบการ หรือองค์กรภาครัฐ ที่เกี่ยวข้องในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
N/A |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
N/A |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
19108.01 จัดเตรียมข้อมูลเพื่อช่วยในการวิเคราะห์ | 1. ระบุกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย | 19108.01.01 | 109190 |
19108.01 จัดเตรียมข้อมูลเพื่อช่วยในการวิเคราะห์ | 2. คัดเลือกกลุ่มลูกค้า | 19108.01.02 | 109191 |
19108.01 จัดเตรียมข้อมูลเพื่อช่วยในการวิเคราะห์ | 3. กำหนดกลยุทธ์ที่จะเปลี่ยนลูกค้ากลุ่มเป้าหมายให้เป็นลูกค้า | 19108.01.03 | 109192 |
19108.01 จัดเตรียมข้อมูลเพื่อช่วยในการวิเคราะห์ | 4. กระตุ้นให้ลูกค้ามีกิจกรรมการซื้อ | 19108.01.04 | 109193 |
19108.02 กำหนดกลยุทธ์การแข่งขัน | 1. วางแผนการให้บริการข้อมูลลูกค้า | 19108.02.01 | 109194 |
19108.02 กำหนดกลยุทธ์การแข่งขัน | 2. รวบรวมข้อมูลให้ลูกค้า | 19108.02.02 | 109195 |
19108.02 กำหนดกลยุทธ์การแข่งขัน | 3. จัดทำเอกสารให้บริการ | 19108.02.03 | 109196 |
19108.02 กำหนดกลยุทธ์การแข่งขัน | 4. นำเสนอข้อมูลอย่างถูกต้อง | 19108.02.04 | 109197 |
19108.03 กำหนดกระบวนการทางธุรกิจ | 1. วิเคราะห์และกำหนดรายละเอียดของปัญหา | 19108.03.01 | 109198 |
19108.03 กำหนดกระบวนการทางธุรกิจ | 2. เลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนการแก้ปัญหา | 19108.03.02 | 109199 |
19108.03 กำหนดกระบวนการทางธุรกิจ | 3. ดำเนินการแก้ปัญหา | 19108.03.03 | 109200 |
19108.03 กำหนดกระบวนการทางธุรกิจ | 4. ตรวจสอบและปรับปรุง | 19108.03.04 | 109201 |
19108.04 วิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหา | 1. วิเคราะห์ความพึงพอใจที่ผู้บริโภคตัดสินใจซื้อ | 19108.04.01 | 109202 |
19108.04 วิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหา | 2. นำเสนอวิธีการสร้างความพึงพอใจ | 19108.04.02 | 109203 |
19108.04 วิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหา | 3. กำหนดเครื่องมือมาประยุกต์ใช้ | 19108.04.03 | 109204 |
19108.04 วิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหา | 4. กำหนดกลยุทธ์สร้างความพึงพอใจ | 19108.04.04 | 109205 |
19108.04 วิเคราะห์แนวทางการแก้ไขปัญหา | 5. กำหนดแนวทางการบริหารลูกค้าสัมพันธ์ | 19108.04.05 | 109206 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
|
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ เป็นการวัดความสามารถในการปฏิบัติและ/หรือผลงานที่เกิดจากการปฏิบัติซึ่งเกิดจากการประยุกต์ใช้ความรู้โดยใช้การจำลองสถานการณ์เพื่อทดสอบการปฏิบัติงานของผู้เข้ารับการประเมินโดยผู้เข้ารับการประเมินจะได้รับมอบหมายให้สาธิตการปฏิบัติงานนั้นๆซึ่งมีจุดมุ่งหมายคือได้การปฏิบัติที่เน้นความถูกต้องสมบูรณ์ของการปฏิบัติ (Process) และผลงานที่ได้จากการปฏิบัติ (Product) - เข้าใจ กระบวนการ และปฏิบัติในสายอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ - กำหนดเป้าหมายของการปฏิบัติงานในสายอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ (หมายเหตุ ตรวจสอบความต้องการด้านทักษะ ผ่านแฟ้มสะสมงาน) (ข) ความต้องการด้านความรู้ เป็นการวัดความสามารถในการจดจาเรื่องราวข้อเท็จจริงกฎเกณฑ์ต่างๆที่บุคคลได้เรียนรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆด้วยคำถามวัดความรู้แบ่งออกเป็น 3 - 4ชนิด - มีความรู้ในเนื้อหาอาทิเช่นเช่นศัพท์คำนิยมกฎความจริงข้อมูลเชิงความรู้เบื้องต้น - มีความเข้าใจในวิธีการดำเนินการกระบวนการ ขั้นตอนของการปฏิบัติงานและหลักเกณฑ์ต่างๆเป็นต้น - มีความเข้าใจ ประยุกต์ในการสร้างแผน และแบบแผนการทำงานได้ - มีการประมวลความรู้รวบยอดเป็นการถามความสามารถในการจดจำข้อสรุปของงานที่รับผิดชอบได้ ความต้องการด้านคุณสมบัติที่พึงประสงค์ การวัดลักษณะผู้ปฏิบัติงาน “สาขาวิชาชีพธุรกิจอสังหาริมทรัพย์”ที่ต้องพึงมีเพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย - มีความละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงานรวมถึงปฏิบัติงานด้วยความประณีต - มีความรับผิดชอบตรงต่อเวลา - มีความซื่อสัตย์โปร่งใสตรวจสอบได้ปฏิบัติงานตามความเป็นจริงตรงไปตรงมา - ปฏิบัติงานตามระเบียบแบบแผนข้อกำหนด - มีคุณธรรมความเสียสละไม่เอารัดเอาเปรียบต่อเพื่อนร่วมงาน - มีใจรักในงานบริการปฏิบัติงานด้วยหลักการให้บริการที่ดี - มีปฏิภาณไหวพริบสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้ |
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
|
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
N/A |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
|