หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บริหารจัดการบุคคลในองค์กร

สาขาวิชาชีพธุรกิจอสังหาริมทรัพย์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ RES-RAE-6-035ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บริหารจัดการบุคคลในองค์กร

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

นักขายโครงการอสังหาริมทรัพย์



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องมีความรู้ ความสามารถเกี่ยวกับการสรรหาพนักงานที่มีความเหมาสม    และการคัดกรองพนักงานที่ผ่านเกณฑ์

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
นักขายโครงการอสังหาริมทรัพย์ หรือกลุ่มบุคคล ในสมาชิกสมาคมการขายและตลาดอสังหาริมทรัพย์ไทย

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
17202.01 สรรหาพนักงานที่มีความเหมาะสม 1. กำหนดคุณสมบัติของพนักงานขายโครงการอสังหาริมทรัพย์ 17202.01.01 57551
17202.01 สรรหาพนักงานที่มีความเหมาะสม 2. หาแหล่งที่มาของพนักงานขายโครงการอสังหาริมทรัพย์ 17202.01.02 57552
17202.01 สรรหาพนักงานที่มีความเหมาะสม 3. กำหนดวิธีการสรรหาพนักงานขายโครงการอสังหาริมทรัพย์ 17202.01.03 57553
17202.01 สรรหาพนักงานที่มีความเหมาะสม 4. จัดสรรกระบวนการคัดเลือก 17202.01.04 57554
17202.02 คัดกรองพนักงานที่ผ่านเกณฑ์ 1. พิจารณาคัดเลือกตามคุณสมบัติที่เหมาะสม 17202.02.01 57555
17202.02 คัดกรองพนักงานที่ผ่านเกณฑ์ 2. ตรวจสอบประวัติการทำงาน, การศึกษา 17202.02.02 57556
17202.02 คัดกรองพนักงานที่ผ่านเกณฑ์ 3. สัมภาษณ์ผู้คุยเกี่ยวข้องหัวข้อที่เกี่ยวข้อง 17202.02.03 57557
17202.02 คัดกรองพนักงานที่ผ่านเกณฑ์ 4. ทดสอบความรู้, ความถนัดและทัศนคติ 17202.02.04 57558
17202.02 คัดกรองพนักงานที่ผ่านเกณฑ์ 5.ประเมินทักษะเฉพาะทาง 17202.02.05 57559

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)


มีความรู้พื้นฐานในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เบื้องต้น หรือการตลาดโครงการอสังหาริมทรัพย์ หรือการขายโครงการอสังหาริมทรัพย์ และมีประสบการณ์ทำงานในอาชีพที่เกี่ยวข้อง (ถ้ามี)


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

    1.สรรหาพนักงานที่มีความเหมาะสม

        0.1 1. กำหนดคุณสมบัติของพนักงานขายโครงการอสังหาริมทรัพย์

        0.2 2. หาแหล่งที่มาของพนักงานขายโครงการอสังหาริมทรัพย์

        0.3 3. กำหนดวิธีการสรรหาพนักงานขายโครงการอสังหาริมทรัพย์

        0.4 4. จัดสรรกระบวนการคัดเลือก

    1.คัดกรองพนักงานที่ผ่านเกณฑ์

        0.5 1. พิจารณาคัดเลือกตามคุณสมบัติที่เหมาะสม

        0.6 2. ตรวจสอบประวัติการทำงาน, การศึกษา

        0.7 3. สัมภาษณ์ผู้คุยเกี่ยวข้องหัวข้อที่เกี่ยวข้อง

        0.8 4. ทดสอบความรู้, ความถนัดและทัศนคติ

        0.9 5.ประเมินทักษะเฉพาะทาง

(ข) ความต้องการด้านความรู้

เป็นการวัดความสามารถในการจดจาเรื่องราวข้อเท็จจริงกฎเกณฑ์ต่างๆที่บุคคลได้เรียนรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆด้วยคำถามวัดความรู้แบ่งออกเป็น 3 - 4 ชนิด



- มีความรู้ในเนื้อหาอาทิเช่นเช่นศัพท์คำนิยมกฎความจริงข้อมูลเชิงความรู้เบื้องต้น



- มีความเข้าใจในวิธีการดำเนินการกระบวนการ ขั้นตอนของการปฏิบัติงานและหลักเกณฑ์ต่างๆเป็นต้น



- มีความเข้าใจ ประยุกต์ในการสร้างแผน และแบบแผนการทำงานได้



- มีการประมวลความรู้รวบยอดเป็นการถามความสามารถในการจดจำข้อสรุปของงานที่รับผิดชอบได้



- มีความเข้าใจในวิชาชีพตนเองดำเนินงานอยู่ได้เป็นอย่างดี



ความต้องการด้านคุณสมบัติที่พึงประสงค์



การวัดลักษณะผู้ปฏิบัติงาน “สาขาวิชาชีพธุรกิจอสังหาริมทรัพย์”ที่ต้องพึงมีเพื่อการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย



- มีความละเอียดรอบคอบในการปฏิบัติงานรวมถึงปฏิบัติงานด้วยความประณีต



- มีความรับผิดชอบตรงต่อเวลา



- มีความซื่อสัตย์โปร่งใสตรวจสอบได้ปฏิบัติงานตามความเป็นจริงตรงไปตรงมา



- ปฏิบัติงานตามระเบียบแบบแผนข้อกำหนด



- มีคุณธรรมความเสียสละไม่เอารัดเอาเปรียบต่อเพื่อนร่วมงาน



- มีใจรักในงานบริการปฏิบัติงานด้วยหลักการให้บริการที่ดี



- มีปฏิภาณไหวพริบสามารถแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)


หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมินและควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge



หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



- เอกสารงานที่ปฏิบัติเช่นรายงานการประมวลผลจากแบบบันทึกข้อมูล



- เอกสารรับรองการทำงานเช่นหนังสือรับรองประสบการณ์การทำงานจากเจ้าของอาชีพในสถานประกอบการแบบประเมินงานจากหัวหน้างาน



- แฟ้มสะสมงานเช่นภาพถ่ายสมุดบันทึกการปฏิบัติงานประจำวัน (Log Book)



หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



- เอกสารรับรองความรู้เช่นใบวุฒิบัตรใบประกาศนียบัตรต่างๆหรือแบบรายงานผลความรู้จากหน่วยงานที่มีความน่าเชื่อถือ หรือสถานประกอบการที่ปฏิบัติงาน



- แฟ้มสะสมงานเช่นภาพถ่ายสมุดบันทึกการเรียนรู้ของผู้ปฏิบัติงาน (Learning Book)



- แบบบันทึกผลการสัมภาษณ์



คำแนะนำในการประเมิน



หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงสมรรถนะในส่วนนี้ ต้องมีความสัมพันธ์และตอบโจทย์ตามข้อกำหนดของสมรรถนะย่อย และเกณฑ์การปฏิบัติงานในหน่วยสมรรถนะนี้ โดยหลักฐานในที่นี้ ต้องแสดงถึง



- ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง และวิธีการปฏิบัติงาน



- ให้พิจารณาตามหลักฐานของความรู้และความเข้าใจในขอบเขตงานที่รับผิดชอบ


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะนี้ จะระบุถึงข้อกำหนดการปฏิบัติงานและข้อมูล/เอกสาร



- ข้อมูลเบื้องต้นที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงาน ได้แก่ ประเภทของข้อมูล, ข้อมูลจากเอกสาร, ข้อมูลจากบุคคล, ข้อมูลจากประสบการณ์



- องค์ประกอบของแผนปฏิบัติงานจัดหาข้อมูลเบื้องต้น ได้แก่ วิธีการจัดหา ระยะเวลา งบประมาณและอุปกรณ์ที่ใช้



- การจัดหาข้อมูลเบื้องต้น ได้แก่ การค้นคว้าจากแหล่งเอกสารข้อมูล, การสัมภาษณ์บุคคล, การลงพื้นที่และการทดลองทำ



- การจัดแบ่งข้อมูลเบื้องต้นสอดคล้องกับการปฏิบัติงานเพื่อนำไปสู่การค้นหาข้อมูลแบบเจาะจงต่อไป



- องค์ประกอบความพร้อมของข้อมูลเบื้องต้น ได้แก่ ปริมาณของข้อมูลเบื้องต้นมีเพียงพอ


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)


- ด้านความรู้




- ด้านทักษะ




- ด้านคุณสมบัติที่พึงประสงค์



ยินดีต้อนรับ