หน่วยสมรรถนะ
จัดทำแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยอาหาร
สาขาวิชาชีพการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม
รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ
1. รหัสหน่วยสมรรถนะ | FPC-FID-5-030ZB |
2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ | จัดทำแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยอาหาร |
3. ทบทวนครั้งที่ | - / - |
4. สร้างใหม่ | ปรับปรุง |
5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification) | |
|
6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency) | |
หน่วยสมรรถนะนี้ใช้ทักษะและความรู้ในการการจำแนกอันตรายทางกายภาพ เคมี จุลินทรีย์ และสารก่อภูมิแพ้ในขั้นตอนการผลิตอาหาร รวบรวมข้อมูลเพื่อการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยอาหาร เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยอาหาร(Food Safety Procedure)และทบทวนให้เป็นปัจจุบันหน่วยสมรรถนะนี้เหมาะกับผู้เข้ารับการประเมินที่มีทักษะฝีมือ สามารถใช้ทฤษฎีและเทคนิคอย่างอิสระด้วยตนเอง |
7. สำหรับระดับคุณวุฒิ |
1 | 2 | 3 | 4 | 5 | 6 | 7 | 8 |
---|---|---|---|---|---|---|---|
8. กลุ่มอาชีพ (Sector) | |
อุตสาหกรรมอาหาร |
9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี) | |
ไม่ระบุ |
10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี) | |
- พระราชบัญญัติอาหาร พุทธศักราช 2522- พระราชบัญญัติ คุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522- พระราชบัญญัติ มาตรฐานสินค้าขาออก พ.ศ. 2503- พระราชบัญญัติ คณะกรรมการอาหารแห่งชาติ พ.ศ. 2551- พระราชบัญญัติ การมาตรฐานแห่งชาติ พ.ศ. 2551- ประกาศกระทรวงสาธารณสุข (ฉบับที่ 193) พ.ศ. 2543 เรื่อง วิธีการผลิต เครื่องมือเครื่องใชในการผลิต และการเก็บรักษาอาหาร- ประกาศกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เรื่อง หลักเกณฑ์การปฏิบัติ: หลักการทั่วไปเกี่ยวกับ สุขลักษณะอาหาร ตามพระราชบัญญัติมาตรฐานสินค้าเกษตร พ.ศ. 2550 (มกษ. 9023-2550) - สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม มอก.34-2546 ข้อปฏิบัติแนะนำระหว่างประเทศ: หลักการทั่วไปเกี่ยวกับสุขลักษณะอาหาร (หลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิตอาหาร)- สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) กระทรวงอุตสาหกรรม มอก.7000-2549 ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุมในการผลิตอาหาร และคำแนะนำในการนำไปใช้ |
11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria) |
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) | เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) | รหัส PC (ตามเล่มมาตรฐาน) |
รหัส PC (จากระบบ) |
---|---|---|---|
51010101 การจำแนกอันตรายทางกายภาพเคมีจุลินทรีย์และสารก่อภูมิแพ้ในขั้นตอนการผลิตอาหาร | 5101010101 จำแนกอันตรายและระบุแหล่งของอันตรายที่สามารถพบในวัตถุดิบและบรรจุภัณฑ์ | 51010101.01 | 107728 |
51010101 การจำแนกอันตรายทางกายภาพเคมีจุลินทรีย์และสารก่อภูมิแพ้ในขั้นตอนการผลิตอาหาร | 5101010102 จำแนกอันตรายและระบุแหล่งของอันตรายที่สามารถพบใน ระหว่างขั้นตอนการผลิต- จำแนกอันตรายและระบุแหล่งของอันตรายที่สามารถพบในขั้นตอนการเก็บรักษาและการขนส่ง | 51010101.02 | 107729 |
51010102 รวบรวมข้อมูลเพื่อการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยอาหาร | 5101010201 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกฎระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในประเทศและประเทศคู่ค้า | 51010102.01 | 107730 |
51010102 รวบรวมข้อมูลเพื่อการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยอาหาร | 5101010202 รวบรวมข้อมูลด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการผลิต | 51010102.02 | 107731 |
51010102 รวบรวมข้อมูลเพื่อการจัดทำแผนปฏิบัติการด้านความปลอดภัยอาหาร | 5101010203 รวบรวมข้อมูลทั่วไปที่มีผลกระทบต่อความปลอดภัยอาหาร | 51010102.03 | 107732 |
51010103 เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยอาหาร (FoodSafetyProcedure)และทบทวนให้เป็นปัจจุบัน | 5101010301 รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกฎระเบียบ ข้อบังคับ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์ในประเทศและประเทศคู่ค้า | 51010103.01 | 107733 |
51010103 เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยอาหาร (FoodSafetyProcedure)และทบทวนให้เป็นปัจจุบัน | 5101010302รวบรวมข้อมูลด้านวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการผลิต | 51010103.02 | 107734 |
51010103 เขียนขั้นตอนการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยอาหาร (FoodSafetyProcedure)และทบทวนให้เป็นปัจจุบัน | 5101010303รวบรวมข้อมูลทั่วไปที่มีผลกระทบต่อความปลอดภัยอาหาร | 51010103.03 | 107735 |
51010104 ควบคุมเอกสารและบันทึกที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยอาหาร | 5101010401 กำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงานได้ถูกต้องและมีประสิทธิผล 5101010402 ทบทวนขั้นตอนการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยอาหารให้ถูกต้องตามหลักวิชาการและกฎหมายที่กำหนด | 51010104.01 | 107736 |
51010104 ควบคุมเอกสารและบันทึกที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยอาหาร | 5101010403 ปรับปรุงขั้นตอนการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยอาหารให้เป็นปัจจุบัน และติดตามกระบวนการทำงานใหม่และพัฒนาอย่างต่อเนื่อง | 51010104.02 | 107737 |
12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge) | |
|
13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge) | |
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
(ข) ความต้องการด้านความรู้
|
14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide) | |
|
15. ขอบเขต (Range Statement) | |
|
16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี) | |
ไม่ระบุ |
17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี) | |
ไม่ระบุ |
18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure) | |
|