หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ตรวจคัดกรองปัญหาการมองเห็น ด้วยวิธี Subjective test

สาขาวิชาชีพบริการสุขภาพ


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ HLT-ZZZ-4-158ZE

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ตรวจคัดกรองปัญหาการมองเห็น ด้วยวิธี Subjective test

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A
1 3254 ผู้ตรวจวัดสายตาและช่างประกอบแว่นตา

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
          การตรวจคัดกรองปัญหาการมองเห็นด้วยวิธี Subjective test เพื่อระบุประเภทความผิดปกติของสายตาที่เกิดจากการหักเหของแสง ตลอดจนบันทึกข้อมูลค่าสายตาที่ได้จากการตรวจวัด

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
ช่างวัดสายตาประกอบแว่น

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
02121 เตรียมความพร้อมก่อนการวัดสายตา ด้วยวิธี Subjective test 1. มีความรู้เกี่ยวกับกายวิภาคตา โรคตาทั่วไป และโรคตาที่มีผลต่อการตรวจวัดสายตา 02121.01 105114
02121 เตรียมความพร้อมก่อนการวัดสายตา ด้วยวิธี Subjective test 2. มีความรู้เกี่ยวกับระบบการ หักเหแสงของตา และความผิดปกติของการหักเหแสง(Refractive error) 02121.02 105115
02121 เตรียมความพร้อมก่อนการวัดสายตา ด้วยวิธี Subjective test 3.ซักประวัติผู้ถูกวัดได้ครบถ้วนและบันทึกข้อมูลครบทุกรายการ 02121.03 105116
02121 เตรียมความพร้อมก่อนการวัดสายตา ด้วยวิธี Subjective test 4. เตรียมห้องตรวจวัดสายตาตามเกณฑ์ที่กำหนด 02121.04 105117
02121 เตรียมความพร้อมก่อนการวัดสายตา ด้วยวิธี Subjective test 5. เตรียมเครื่องวัดให้พร้อมใช้งาน 02121.05 105118
02122 ตรวจวัดความผิดปกติของสายตาแต่ละชนิด 1. ตรวจวัดสายตาตามขั้นตอนมาตรฐาน 02122.01 105119
02122 ตรวจวัดความผิดปกติของสายตาแต่ละชนิด 2. ระบุประเภทความผิดปกติของสายตาได้ ประกอบด้วย สายตาสั้น สายตายาวสายตาเอียง และสายตายาวตามอายุ 02122.02 105120
02122 ตรวจวัดความผิดปกติของสายตาแต่ละชนิด 3. บันทึกข้อมูลค่าสายตาที่สั่งจ่ายให้กับผู้รับบริการได้ถูกต้อง 02122.03 105121

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ทักษะการสื่อสาร


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ทักษะการใช้อุปกรณ์สำหรับวัดสายตาด้วยวิธี Subjective test

2. ทักษะการระบุประเภทความผิดปกติของสายตาที่เกิดจากการหักเหของแสง

3. ทักษะการบันทึกข้อมูลค่าสายตาที่ได้จากการตรวจวัด

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. ความรู้เกี่ยวกับดวงตา และปัญหาสายตา

2. ความรู้เกี่ยวกับการจัดเตรียมห้องตรวจวัดสายตาและการซักประวัติผู้ถูกวัด

3. ความรู้เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์สำหรับวัดสายตาด้วยวิธี Subjective test


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

          ผลการประเมินภาคปฏิบัติในการระบุค่าสายตา โดยใช้อุปกรณ์สำหรับวัดสายตาด้วยวิธี Subjective test ได้

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

          ผลการสอบข้อเขียน

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

          จัดการประเมินทางภาคทฤษฎีก่อน และตามด้วยการประเมินภาคปฏิบัติ

(ง) วิธีการประเมิน

          พิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ

          ตรวจคัดกรองปัญหาการมองเห็นด้วยวิธี Subjective test

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

          Subjective test หมายถึง การวัดสายตาที่ต้องมีการสอบถามข้อมูลจากผู้รับบริการ เช่น ให้ทดลองอ่าน แล้ววัด และประเมินเพื่อเพิ่มหรือลดกำลังเลนส์แล้วสอบถามความชัดของเลนส์ที่ให้ เป็นต้น



 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 แบบทดสอบข้อเขียน (ข้อสอบปรนัย แบบ 4 ตัวลือก)

18.2 การสาธิตการปฏิบัติงาน

18.3 แฟ้มสะสมงาน (Portfolio)



ยินดีต้อนรับ