หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดการเมื่อเกิดการหกรั่วไหล

สาขาวิชาชีพโลจิสติกส์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ LOG-WII-4-080ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดการเมื่อเกิดการหกรั่วไหล

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ผู้ควบคุมคลังสินค้าอันตราย



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
   บุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการใช้อุปกรณ์การจัดการเมื่อเกิดการรั่วไหล และประเมินผลกระทบจากการหกรั่วไหล 

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
1321 ผู้จัดการด้านการผลิต1324 ผู้จัดการด้านการจัดหาและจัดส่งสินค้า

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
101051 ใช้อุปกรณ์การจัดการเมื่อเกิดการรั่วไหล 1. ดำเนินการตามแผนจัดการเมื่อเกิดการหกรั่วไหลและโต้ตอบภาวะฉุกเฉิน ตามแผนโต้ตอบภาวะฉุกเฉินที่กำหนด 101051.01 103809
101051 ใช้อุปกรณ์การจัดการเมื่อเกิดการรั่วไหล 2. ควบคุมการใช้อุปกรณ์จัดการเมื่อเกิดการรั่วไหล ตามแผนโต้ตอบภาวะฉุกเฉินที่กำหนด 101051.02 103810
101052 ประเมินผลกระทบจากการหกรั่วไหล 1. ประเมินผลกระทบจากการหกรั่วไหล ตามแผนโต้ตอบภาวะฉุกเฉินที่กำหนด 101052.01 103811
101052 ประเมินผลกระทบจากการหกรั่วไหล 2. รายงานผลกระทบจากการหกรั่วไหล ได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน ตามแผนโต้ตอบภาวะฉุกเฉินที่กำหนด 101052.02 103812

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

ไม่ระบุ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ปฏิบัติการใช้อุปกรณ์การจัดการเมื่อเกิดการรั่วไหล

  1.1 สามารถดำเนินการตามแผนจัดการเมื่อเกิดการหกรั่วไหลและโต้ตอบภาวะฉุกเฉินได้ถูกต้องครบถ้วนตามเกณฑ์ที่กำหนด

  1.2 สามารถควบคุมการใช้อุปกรณ์จัดการเมื่อเกิดการรั่วไหลได้เหมาะสมกับประเภทของสินค้าอันตราย

2. ปฏิบัติการประเมินผลกระทบจากการหกรั่วไหล

  2.1 สามารถประเมินผลกระทบจากการหกรั่วไหลได้ถูกต้องครบถ้วนตามเกณฑ์ที่กำหนด

  2.2 สามารถรายงานผลกระทบจากการหกรั่วไหลได้ถูกต้องครบถ้วนตามเกณฑ์ที่กำหนด


(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. การใช้อุปกรณ์การจัดการเมื่อเกิดการรั่วไหล

2. การจัดการการรั่วไหลของสินค้าอันตราย

3. การประเมินผลกระทบจากการหกรั่วไหล



14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

   หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

   1. เอกสารรับรองการปฏิบัติงานหรือผลการประเมินการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

   2. เอกสารการประเมินตามหน่วยสมรรถนะครอบคลุมคุณวุฒิวิชาชีพ

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

   1. เอกสารผ่านการอบรมเกี่ยวกับจัดการเมื่อเกิดการหกรั่วไหลและโต้ตอบภาวะฉุกเฉิน

   2. เอกสารรับรองหรือผลการประเมินจากสถานประกอบการ

   3. เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียนหรือการสัมภาษณ์ด้านความรู้

   4. แฟ้มสะสมผลงาน

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

    ประเมินเกี่ยวกับจัดการเมื่อเกิดการหกรั่วไหล โดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้

(ง) วิธีการประเมิน

   1. พิจารณาหลักฐานความรู้

   2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน



15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คำแนะนำ

   การปฏิบัติดำเนินการตามแผนจัดการเมื่อเกิดการหกรั่วไหลและโต้ตอบภาวะฉุกเฉิน ควบคุมการใช้อุปกรณ์จัดการเมื่อเกิดการรั่วไหลได้เหมาะสมกับประเภทของสินค้าอันตราย ประเมินผลกระทบจากการหกรั่วไหล และรายงานผลกระทบจากการหกรั่วไหล

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

   1. จัดการใช้อุปกรณ์การจัดการเมื่อเกิดการรั่วไหล จะต้องดำเนินการตามแผนจัดการเมื่อเกิดการหกรั่วไหลและโต้ตอบภาวะฉุกเฉินอย่างถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนด และควบคุมการใช้อุปกรณ์จัดการเมื่อเกิดการรั่วไหลได้เหมาะสมกับประเภทของสินค้าอันตรายตามมาตรฐานที่กำหนด

  2. จัดการประเมินผลกระทบจากการหกรั่วไหล จะต้องประเมินผลกระทบจากการหกรั่วไหลได้อย่างถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนด รวมทั้งรายงานผลกระทบจากการหกรั่วไหลครบถ้วนตามมาตรฐานที่กำหนด

 



16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. เครื่องมือการประเมิน

  1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 

  2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานโดยวิธีการสัมภาษณ์

     ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

2. เครื่องมือการประเมิน

  1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก 

  2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงานโดยวิธีการสัมภาษณ์

     ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน

 




ยินดีต้อนรับ