หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

บริหาร จัดการเครื่องมือแพทย์ในระดับหน่วยงาน

สาขาวิชาชีพวิศวกรรมชีวการแพทย์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ MET-ZZZ-4-160ZB

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ บริหาร จัดการเครื่องมือแพทย์ในระดับหน่วยงาน

3. ทบทวนครั้งที่ /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)
N/A

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้กำหนดความสามารถที่จำเป็นในการใช้ทักษะและความรู้ในการใช้หรืออัพเกรดเทคโนโลยีใหม่ ความสำคัญและที่มาของหน่วยนี้เน้นความสำคัญของการตรวจสอบกระบวนการทำงาน ทักษะและเทคนิคอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้แน่ใจว่ามีการรักษาระดับคุณภาพการให้บริการอยู่ในระดับสูงสุดด้วยการใช้เทคโนโลยีใหม่ที่เหมาะสม ด้วยเหตุนี้วิศวกรชีวการแพทย์จึงต้องคอยติดตามงานวิจัย เพื่อค้นพบและใช้เทคโนโลยีหรือเทคนิคใหม่ด้านอุปกรณ์ชีวการแพทย์ในการปรับปรุงกิจการขององค์กร

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
N/A

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
4060101 บริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในระดับหน่วยงานให้มีความเพียงพอ พร้อมใช้งาน ตามมาตรฐาน 1.1 จัดทำระบบทะเบียน และฐานข้อมูลเครื่องมือแพทย์ Inventory 162704
4060101 บริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในระดับหน่วยงานให้มีความเพียงพอ พร้อมใช้งาน ตามมาตรฐาน 1.2 จำแนกเครื่องมือตามระดับความเสี่ยงและแนวทางมาตรฐานสากล 162705
4060101 บริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในระดับหน่วยงานให้มีความเพียงพอ พร้อมใช้งาน ตามมาตรฐาน 1.3 ติดตาม ประเมินความเพียงพอ 162706
4060101 บริหารจัดการเครื่องมือแพทย์ในระดับหน่วยงานให้มีความเพียงพอ พร้อมใช้งาน ตามมาตรฐาน 1.4 บริหารจัดการระบบเครื่องมือ แพทย์ตามมาตรฐานสากลหรือมาตรฐานในประเทศที่กำหนดขึ้น 162707
4060102 ประเมินความต้องการของแต่ละหน่วยงานในแต่ละช่วงเวลาและระบุปัญหาความไม่เพียงพอของเครื่องมือแพทย์ 2.1 ประเมินความต้องการใช้งานเครื่องมือแพทย์ของหน่วยงาน 162708
4060102 ประเมินความต้องการของแต่ละหน่วยงานในแต่ละช่วงเวลาและระบุปัญหาความไม่เพียงพอของเครื่องมือแพทย์ 2.2 ระบุปัญหาความไม่เพียงพอของเครื่องมือแพทย์ 162709
4060102 ประเมินความต้องการของแต่ละหน่วยงานในแต่ละช่วงเวลาและระบุปัญหาความไม่เพียงพอของเครื่องมือแพทย์ 2.3 จัดทำแผนการจัดซื้อเครื่องมือแพทย์ประจำปี 162710
4060103 รวบรวม ข้อมูลและจัดทำรายงานข้อเสนอการพัฒนาต่อผู้บริหาร 3.1 รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับเครื่องมือและอุปกรณ์การแพทย์เพื่อการพัฒนาคุณภาพ และการบริหารองค์กร 162711
4060103 รวบรวม ข้อมูลและจัดทำรายงานข้อเสนอการพัฒนาต่อผู้บริหาร 3.2 วิเคราะห์และจัดทำรายงานความต้องการใช้งานเสนอผู้บริหาร 162712

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

- ทักษะการบริหารจัดการทรัพยากร (Utilization management)

- ทักษะการประเมินเทคโนโลยี ทางการแพทย์

- ทักษะในการเลือกใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่

- ทักษะการบริหารโครงการ

- ทักษะการบริหารความเสี่ยง

(ข) ความต้องการด้านความรู้

- การจัดการทรัพยากร (Utilization management)

- การบริหารความเสี่ยง

- มาตรฐานการจัดการเครื่องมือแพทย์

- การบริหารโครงการ

ระเบียบงานพัสดุ การจัดซื้อ จัดจ้างN/A


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

N/A

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

N/A

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

N/A

(ง) วิธีการประเมิน

N/A


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ก) คําแนะนํา

N/A

(ข) คำอธิบายรายละเอียด

- มาตรฐานการจัดการเครื่องมือแพทย์ HA หรือมาตรฐานล่าสุดที่ประกาศใช้ภายในประเทศ

- มาตรฐานการจัดการเครื่องมือแพทย์ตามมาตรฐานสากล JCI, ISO

เครื่อง (Equipment)

- ระบบเครื่องไตเทียม (Hemodialysis system) ได้แก่

• ระบบน้ำบริสุทธิ์ (Water purification system)

• เครื่องไตเทียม (Dialysis machine)

• ตัวกรอง (Dialyzer)

- เครื่องมือในระบบหายใจ (Respiration) ได้แก่

• เครื่องช่วยหายใจเบิร์ด (Bird’s ventilator)

• เครื่องช่วยหายใจแบบเมคคานิกส์ แบบโหมดพื้นฐาน (Mechanical ventilators (Basic mode))

• เครื่องช่วยหายใจแบบไม่รุกล้ำ (Noninvasive Oxygen therapy)

- เครื่องมือในระบบประสาท (Neurological)

• เครื่องควบคุมอุณหภูมิผู้ป่วยร้อน/เย็น (Hypo/hyperthermia)

• เครื่องตรวจวัดคลื่นไฟฟ้าสมอง (EEG)

• เครื่องตรวจวัดคลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ (EMG)

• เครื่องตรวจการนอนหลับ (Sleep lab)

- เครื่องเฝ้าระวังและติดตามสัญญานชีพผู้ป่วย (Patient Monitors)

• เครื่องวัดความดันโลหิตแบบไม่รุกล้ำ (NIBP)

• เครื่องวัดความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Pulse Oxymeter)

• เครื่องวัดคลื่นไฟฟ้าหัวใจ (ECG)

• เครื่องวัดความดันโลหิตแบบรุกล้ำ (Arterial blood pressure, CVP monitoring)

สถานที่ปฏิบัติงาน (Worksite)

- แผนกผู้ป่วยนอก (OPD) /หอผู้ป่วย (Ward) /ห้องฉุกเฉิน (Emergency Room) /หอผู้ป่วยหนัก (ICU)

- ห้องผ่าตัด (Operation Room) / ห้องคลอด (Delivery Room)

- หน่วยงานไตเทียม (Dialysis Unit)

- หน่วยงานส่องกล้อง (Endoscope Unit)


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

สมรรถนะอาจจะได้รับการประเมินผ่าน:

- การสัมภาษณ์ / การสอบข้อเขียน

- การสังเกต / การสาธิต (จำลอง)

โดยสมรรถนะอาจจะได้รับการประเมินในที่ทำงานหรือในสถานที่ทำงานจำลองที่มีการจัดตั้งขึ้น



ยินดีต้อนรับ