หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดทำนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมการให้บริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

สาขาวิชาชีพโลจิสติกส์


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ LOG-FDD-8-024ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดทำนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมการให้บริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

อาชีพผู้ให้บริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ


1 3331 ตัวแทนพิธีการศุลกากรและตัวแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้า

6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลที่ทำหน้าที่ให้บริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศซึ่งจะต้องปฏิบัติงานเกี่ยวกับสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ กำหนดทิศทางและประเมินศักยภาพการให้บริการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ กำหนดกลยุทธ์การให้บริการการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ ทำงานร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศเกี่ยวกับการให้บริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
3331 ตัวแทนพิธีการศุลกากรและตัวแทนผู้รับจัดการขนส่งสินค้า

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
04661 สังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 1. รวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 04661.01 92403
04661 สังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 2. ระบุปัจจัยที่จำเป็นในการบริการการขนส่งสินค้าทางอากาศอย่างถูกต้องเหมาะสม 04661.02 92404
04661 สังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 3. นำปัจจัยที่สังเคราะห์มาวางแผนในการกำหนดทิศทางการบริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 04661.03 92405
04662 กำหนดทิศทางและประเมินศักยภาพการให้บริการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 1. จัดทำแผนธุรกิจโดยการวิเคราะห์จุดแข็งจุดอ่อน ศักยภาพการให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ 04662.01 92406
04662 กำหนดทิศทางและประเมินศักยภาพการให้บริการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 2. จัดทำแผนธุรกิจโดยการวิเคราะห์ทิศทางการให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ 04662.02 92407
04663 กำหนดกลยุทธ์การให้บริการการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 1. จัดทำแผนธุรกิจโดยกำหนดแผนกลยุทธ์การแข่งขันทิศทาง เป้าหมาย และตำแหน่งการแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 04663.01 92408
04663 กำหนดกลยุทธ์การให้บริการการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 2. กำหนดนโยบายการแข่งขันขององค์กรจากกลยุทธ์การแข่งขัน ทิศทาง เป้าหมายและตำแหน่งการแข่งขันอย่างมีประสิทธิภาพ 04663.02 92409
04663 กำหนดกลยุทธ์การให้บริการการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 3. จัดทำรายงานแผนธุรกิจเพื่อส่งมอบให้หน่วยงานภายในองค์กรนำไปใช้วางแผนการบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ 04663.03 92410
04664 ทำงานร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศเกี่ยวกับการให้บริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 1. เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมอบรมวิชาการด้านการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ 04664.01 92411
04664 ทำงานร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศเกี่ยวกับการให้บริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ 2. ติดตามข้อมูลข่าวสาร ความก้าวหน้าด้านการบริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศและความเป็นไปได้ของวิชาชีพจากต่างประเทศอย่างสม่ำเสมอ 04664.02 92412

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)


ไม่ระบุ


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ปฏิบัติการสังเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่ออุตสาหกรรมบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ     



   1.1 สามารถรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ



   1.2 สามารถระบุปัจจัยที่จำเป็นในการบริการการขนส่งสินค้าทางอากาศอย่างถูกต้องเหมาะสม



   1.3 สามารถนำปัจจัยที่สังเคราะห์มาวางแผนในการกำหนดทิศทางการบริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ



2. ปฏิบัติการด้านการกำหนดทิศทางและประเมินศักยภาพการให้บริการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ



   2.1 สามารถจัดทำแผนธุรกิจโดยการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน ศักยภาพการให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ



   2.2 สามารถจัดทำแผนธุรกิจโดยการวิเคราะห์ทิศทางการให้บริการอย่างมีประสิทธิภาพ



 3. ปฏิบัติการด้านการกำหนดกลยุทธ์การให้บริการการจัดการอุตสาหกรรมขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ



   3.1 สามารถจัดทำแผนธุรกิจโดยกำหนดแผนกลยุทธ์การแข่งขัน ทิศทาง เป้าหมาย และตำแหน่งการแข่งขันได้อย่างมีประสิทธิภาพ



   3.2 สามารถกำหนดนโยบายการแข่งขันขององค์กรจากกลยุทธ์การแข่งขัน ทิศทาง เป้าหมาย และตำแหน่งการแข่งขันอย่างมีประสิทธิภาพ



   3.3 สามารถจัดทำรายงานแผนธุรกิจเพื่อส่งมอบให้หน่วยงานภายในองค์กรนำไปใช้วางแผนการบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศอย่างมีประสิทธิภาพ



 4. ปฏิบัติการด้านการทำงานร่วมกับหน่วยงานต่างประเทศเกี่ยวกับการให้บริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ



   4.1 สามารถเข้าร่วมกิจกรรมการประชุม อบรมวิชาการด้านการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศอย่างต่อเนื่องสม่ำเสมอ



   4.2 สามารถติดตามข้อมูลข่าวสาร ความก้าวหน้าด้านการบริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศและความเป็นไปได้ของวิชาชีพจากต่างประเทศอย่างสม่ำเสมอ

(ข) ความต้องการด้านความรู้

1. กระบวนการจัดทำเอกสารสำหรับการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ



2. กระบวนการจัดบันทึกข้อมูลที่ใช้ประกอบการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศในระบบคอมพิวเตอร์


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)


หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)




(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)




1. รายงานการติดตามการบริการของผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
  1. ใบผ่านการอบรมเกี่ยวกับการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
  2. เอกสารรับรองและผลการประเมินจากหน่วยงาน
(ค) คำแนะนำในการประเมิน
  ประเมินเกี่ยวกับการจัดหาและควบคุมผู้รับจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ
(ง) วิธีการประเมิน
  1. พิจารณาหลักฐานความรู้
2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

(ข) คำอธิบายรายละเอียด



    1. ผู้ปฏิบัติงานจะต้องรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมการบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศโดยระบุปัจจัยที่จำเป็นในการบริการการขนส่งสินค้าทางอากาศ และนำปัจจัยที่สังเคราะห์มาวางแผนในการกำหนดทิศทางการบริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ เช่น



    2.  ผู้ปฏิบัติงานจะต้องจัดทำแผนธุรกิจโดยการวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน ศักยภาพการให้บริการ และจัดทำแผนธุรกิจโดยการวิเคราะห์ทิศทางการให้บริการ เช่น กำหนดแนวทางของความคิด และช่วยให้แน่วแน่ต่อการใช้ทรัพยากรและกำลังความพยายามเพื่อไปสู่เป้าหมาย และกำหนดการปฏิบัติงานที่ต่อเนื่องในอนาคตของกิจการ



    3. ผู้ปฏิบัติงานจะต้องจัดทำแผนธุรกิจโดยกำหนดแผนกลยุทธ์การแข่งขัน ทิศทาง เป้าหมาย และตำแหน่งการแข่งขันโดยกำหนดนโยบายการแข่งขันขององค์กรจากกลยุทธ์การแข่งขัน ทิศทาง เป้าหมาย และตำแหน่งการแข่งขัน พร้อมทั้งจัดทำรายงานแผนธุรกิจเพื่อส่งมอบให้หน่วยงานภายในองค์กรนำไปใช้วางแผนการบริการจัดการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ  เช่น สินค้าหรือบริการที่จะขาย กลุ่มลูกค้าที่คาดหวัง จุดแข็งและจุดอ่อนของกิจการที่จะทำนโยบายการตลาด เช่น นโยบายด้านราคา การส่งเสริมการตลาด การกระจายสินค้า วิธีการหรือกระบวนการในการผลิต รวมถึงเครื่องจักร อุปกรณ์ที่ต้องใช้ ตัวเลขทางการเงิน นับตั้งแต่รายได้ที่คาดว่าจะได้ ค่าใช้จ่าย กำไร ขาดทุน จำนวนเงินลงทุนที่ต้องการ และกระแสเงินสดที่คาดว่าจะได้มาหรือใช้ไป



    4. ผู้ปฏิบัติงานจะต้องเข้าร่วมกิจกรรมการประชุม อบรมวิชาการด้านการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศและติดตามข้อมูลข่าวสาร ความก้าวหน้าด้านการบริการการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศและความเป็นไปได้ของวิชาชีพจากต่างประเทศอย่างสม่ำเสมอ



    5. คำว่า “ถูกต้องครบถ้วน” หมายถึง ความถูกต้องตามขั้นตอนการปฏิบัติงานตามที่ระบุไว้ในแบบประเมินทักษะในการปฏิบัติงาน



    6. คำว่า “อย่างมีประสิทธิภาพ” หมายถึง ปฏิบัติงานตามที่ได้รับมอบหมายได้สำเร็จลุล่วงตามจุดมุ่งหมายที่วางไว้ โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
ไม่ระบุ

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)


1. เครื่องมือการประเมิน




1. แบบประเมินความรู้ ใช้แบบทดสอบปรนัย หรือ แบบทดสอบอัตนัย
  2. แบบประเมินการสัมภาษณ์จากกรณีศึกษา (แผนธุรกิจ)
  3. การประเมินโดยแฟ้มสะสมผลงาน  (เพื่อสาธารณะประโยชน์)
ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน
2. เครื่องมือการประเมิน
  1. แบบประเมินความรู้ ใช้แบบทดสอบปรนัย หรือ แบบทดสอบอัตนัย
  2. แบบประเมินการสัมภาษณ์จากกรณีศึกษา (แผนธุรกิจ)
  3. การประเมินโดยแฟ้มสะสมผลงาน  (เพื่อสาธารณะประโยชน์)
ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน
3. เครื่องมือการประเมิน
  1. แบบประเมินความรู้ ใช้แบบทดสอบปรนัย หรือ แบบทดสอบอัตนัย
  2. แบบประเมินการสัมภาษณ์จากกรณีศึกษา (แผนธุรกิจ)
  3. การประเมินโดยแฟ้มสะสมผลงาน  (เพื่อสาธารณะประโยชน์)
ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน
4. เครื่องมือการประเมิน
  1. แบบประเมินความรู้ ใช้แบบทดสอบปรนัย หรือ แบบทดสอบอัตนัย
  2. แบบประเมินการสัมภาษณ์จากกรณีศึกษา (แผนธุรกิจ)
  3. การประเมินโดยแฟ้มสะสมผลงาน  (เพื่อสาธารณะประโยชน์)
ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



ยินดีต้อนรับ