หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

ควบคุมคุณภาพการทำงานของเครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน

สาขาวิชาชีพสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ TEX-ZZZ-5-044ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ ควบคุมคุณภาพการทำงานของเครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน

3. ทบทวนครั้งที่ N/A /

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ISCO รหัส 1321 ผู้จัดการด้านการผลิต



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
หน่วยสมรรถนะนี้จะอธิบายทักษะและความรู้ในการเตรียมความพร้อมของเครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน และ การควบคุมการใช้เครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพผลิตวัสดุสิ่งทอ

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
1022101 เตรียมความพร้อมของเครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน 1. ระบุเครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อนได้ถูกต้องตามคุณสมบัติของผ้าทอที่จะทำการผลิต 1022101.01 72493
1022101 เตรียมความพร้อมของเครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน 2. ตรวจสอบความพร้อมก่อนการใช้งานของเครื่องจักรได้ถูกต้องครบถ้วนตามขั้นตอนที่กำหนดขององค์กร 1022101.02 72494
1022101 เตรียมความพร้อมของเครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน 3. จำแนกความเสี่ยงในการใช้งานเครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อนได้ถูกต้องตามข้อจำกัดและหลักการการใช้เครื่องจักรแต่ละประเภท 1022101.03 72495
1022101 เตรียมความพร้อมของเครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน 4. แก้ไขปัญหาที่เกิดจากการทำงานของเครื่องจักรได้ถูกต้องหลักการการใช้เครื่องจักรแต่ละประเภท 1022101.04 72714
1022102 ควบคุมการใช้เครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน 1. ตรวจสอบการทำงานของเครื่องจักรได้ถูกต้องครบถ้วนตามขั้นตอนที่กำหนดขององค์กร 1022102.01 72496
1022102 ควบคุมการใช้เครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน 2. ควบคุมบุคลากรผู้ใช้งานเครื่องจักรได้ถูกต้องตามขั้นตอนที่กำหนดขององค์กร 1022102.02 72497
1022102 ควบคุมการใช้เครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน 3. วิเคราะห์ปัญหาที่เกิดจากการทำงานของเครื่องจักรได้ถูกต้องหลักการการใช้เครื่องจักรแต่ละประเภท 1022102.03 72498
1022102 ควบคุมการใช้เครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน 4. แก้ไขปัญหาที่เกิดจากการทำงานของเครื่องจักรได้ถูกต้องหลักการการใช้เครื่องจักรแต่ละประเภท 1022102.04 72499

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)
N/A

13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1.ปฏิบัติการตรวจสอบการทำงานของเครื่องจักรผลิตผ้าทอ

2.ปฏิบัติการตรวจสอบความถูกต้องของผลิตภัณฑ์ผ้าทอ

(ข) ความต้องการด้านความรู้

เทคนิคเพื่อการผลิตผ้าทอ


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)

                    1. เอกสารรับรองการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ

                    2. เอกสารประเมินผลจากการสังเกตการปฏิบัติงาน

(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)

                    1. เอกสารรับรองผลการศึกษาหรือผลการอบรม

                    2. เอกสารประเมินผลจากการสอบข้อเขียน

(ค) คำแนะนำในการประเมิน

                    ผู้ประเมินตรวจประเมินในด้านทักษะและความรู้ เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมของเครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน และ การควบคุมการใช้เครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน

(ง) วิธีการประเมิน

                    พิจารณาตามหลักฐานปฏิบัติงาน และหลักฐานด้านความรู้


15. ขอบเขต (Range Statement)

ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการเตรียมความพร้อมและควบคุมการใช้งานเครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน

          (ก) คำแนะนำ

                    1. ผู้เข้ารับการประเมินสามารถเตรียมความพร้อมของเครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อนได้

                    2. ผู้เข้ารับการประเมินสามารถควบคุมการใช้เครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อนได้

          (ข) คำอธิบายรายละเอียด

                    1. เครื่องจักรสำหรับการผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน หมายถึง เครื่องทอ ที่มีการคิดค้น ดัดแปลงเพื่อให้เกิดผลผลิตผ้าทอที่ซับซ้อน อาทิเช่น เครื่องทอ Jacquard เหมาะสำหรับการทอลวดลายที่ซับซ้อน โดยไม่จำกัดจำนวนตะกอ เพราะมีเทคนิคการจัดการเส้นด้ายยืนแต่ละเส้นแยกกันอย่างอิสระ เป็นต้น

                    2. ผ้าทอที่มีขั้นตอนการผลิตที่ซับซ้อน อาทิเช่น ผ้าที่ต้องการความพองฟูนุ่มต่อการสัมผัส ที่ต้องใช้เทคนิคการผลิต โดยขั้นแรกจะต้องเตรียมเส้นด้ายชนิดพิเศษเป็นเส้นใยฝ้ายที่พันด้วยเส้นใยยาวที่ผลิตจากเส้นใยที่สามารถละลายออกได้ในภายหลัง จากนั้นนำไปทอผ้าตามโครงสร้างที่ต้องการ ขั้นตอนสุดท้ายละลายเส้นใยยาวที่พันรอบเส้นใยฝ้ายออก ก็จะได้ผ้าที่นุ่มพิเศษเนื่องจากเป็นผ้าที่ทอจากเส้นด้ายฝ้ายที่ไม่มีเกลียว การเลือกเครื่องจักรที่ใช้ในการทอผ้าชนิดนี้จึงต้องคำนึงถึงเครื่องทอที่สามารถปรับให้ผลิตผ้าได้หลายชนิด


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

18.1 แบบฟอร์มการประเมินผลการสอบข้อเขียน

18.2 แบบฟอร์มประเมินผลจากการสัมภาษณ์



ยินดีต้อนรับ