หน่วยสมรรถนะ

หน่วยสมรรถนะ

จัดการงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

สาขาวิชาชีพอนุรักษ์งานศิลปหัตถกรรมและงานพื้นบ้าน


รายละเอียดหน่วยสมรรถนะ


1. รหัสหน่วยสมรรถนะ CRA-POT-7-038ZA

2. ชื่อหน่วยสมรรถนะ จัดการงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

3. ทบทวนครั้งที่ - / -

4. สร้างใหม่ ปรับปรุง

5. สำหรับชื่ออาชีพและรหัสอาชีพ (Occupational Classification)

ผู้ผลิตเครื่องปั้นดินเผาแบบร่วมสมัย



6. คำอธิบายหน่วยสมรรถนะ (Description of Unit of Competency)
บุคคลที่ทำหน้าที่ผู้ผลิตเครื่องปั้นดินเผา ซึ่งจะต้องปฏิบัติงานเกี่ยวกับการจัดการงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

7. สำหรับระดับคุณวุฒิ
1 2 3 4 5 6 7 8

8. กลุ่มอาชีพ (Sector)
กลุ่มอาชีพ อนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม

9. ชื่ออาชีพและรหัสอาชีพอื่นที่หน่วยสมรรถนะนี้สามารถใช้ได้ (ถ้ามี)
N/A

10. ข้อกำหนดหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้อง (Licensing or Regulation Related) (ถ้ามี)
N/A

11. สมรรถนะย่อยและเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Elements and Performance Criteria)
หน่วยสมรรถนะย่อย (EOC) เกณฑ์ในการปฏิบัติงาน (Performance Criteria) รหัส PC
(ตามเล่มมาตรฐาน)
รหัส PC
(จากระบบ)
022101 วางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้าน และศิลปหัตถกรรม 1. ข้อมูลของสินค้าที่ต้องการผลิตนำมาวิเคราะห์ระบบงานได้อย่างถูกต้อง 022101.01 140375
022101 วางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้าน และศิลปหัตถกรรม 2. ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์สภาพปัญหานำมากำหนดแนวทางการปรับปรุงการผลิตได้อย่างถูกต้อง 022101.02 140376
022101 วางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้าน และศิลปหัตถกรรม 3. สินค้าในงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมมีการวางแผนได้อย่างถูกต้อง 022101.03 140377
022101 วางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้าน และศิลปหัตถกรรม 4.สินค้าที่ผลิตมีการควบคุมแผนงานอย่างมีประสิทธิภาพ 022101.04 140378
022102 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 1. หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้รับข้อมูลจากการประสานงานอย่างถูกต้อง 022102.01 140379
022102 ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2. รายงานผลการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจัดทำได้อย่างถูกต้อง ครบถ้วน 022102.02 140380
022103 สอนงานปฏิบัติในงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม 1. ขั้นตอนการปฏิบัติงานมีการวิเคราะห์งานอย่างถูกต้อง 022103.01 140381
022103 สอนงานปฏิบัติในงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม 2. วัตถุประสงค์การสอนมีความถูกต้อง สมบูรณ์ 022103.02 140382
022103 สอนงานปฏิบัติในงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม 3. ดำเนินการสอนงานปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ 022103.03 140383
022104 บริหารบุคลากรในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม 1.แผนการพัฒนาบุคลากรภายในหน่วยงานมีการวางแผนอย่างเป็นระบบ 022104.01 140384
022104 บริหารบุคลากรในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม 2. บุคลากรภายในหน่วยงานมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง 022104.02 140385
022105 บริหารการเงินและบัญชี 1. การควบคุมการใช้จ่ายมีการวางแผนได้อย่างถูกต้อง 022105.01 140386
022105 บริหารการเงินและบัญชี 2. การบันทึกบัญชีมีการตรวจสอบอย่างต่อเนื่อง 022105.02 140387
022105 บริหารการเงินและบัญชี 3. รายงานการบริหารการเงินและบัญชีจัดทำอย่างถูกต้อง ครบถ้วน 022105.03 140388
022106 บริหารทรัพยากรในหน่วยงาน 1. การจัดสภาพแวดล้อมในหน่วยงาน ดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 022106.01 140389
022106 บริหารทรัพยากรในหน่วยงาน 2. การบริหารข้อมูลในหน่วยงานดำเนินการได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพ 022106.02 140390
022107 กำหนดแนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหา 1. ปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงานได้รับการตรวจสอบและวิเคราะห์อย่างมีประสิทธิภาพ 022107.01 140391
022107 กำหนดแนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหา 2. แนวทางแก้ไขปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคตมีการป้องกันอย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ 022107.02 140392
022108 ประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน 1. เครื่องมือการประเมินผลการปฏิบัติงานกำหนดขึ้นอย่างถูกต้องเที่ยงตรง 022108.01 140393
022108 ประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน 2. ผลการปฏิบัติงานประเมินอย่างถูกต้องตามเกณฑ์อย่างมีประสิทธิภาพและตรวจสอบได้ 022108.02 140394
022108 ประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน 3. ผลการประเมินการปฏิบัติงานมีการนำไปใช้ควบคุมภายในหน่วยงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 022108.03 140395

12. ความรู้และทักษะก่อนหน้าที่จำเป็น (Pre-requisite Skill & Knowledge)

N/A


13. ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)

(ก) ความต้องการด้านทักษะ

1. ปฏิบัติเกี่ยวกับการวางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม



2. ปฏิบัติเกี่ยวกับประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง



3. ปฏิบัติเกี่ยวกับการสอนงานปฏิบัติในงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม



4. ปฏิบัติเกี่ยวกับบริหารบุคลากรในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม



5. ปฏิบัติเกี่ยวกับบริหารการเงินและบัญชี



6. ปฏิบัติเกี่ยวกับบริหารทรัพยากรในหน่วยงาน



7. ปฏิบัติเกี่ยวกับกำหนดแนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหา



8. ปฏิบัติเกี่ยวกับประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน

(ข) ความต้องการด้านความรู้

 



1. เทคนิคการประสานงาน



2. เทคโนโลยีในการสื่อสาร



3. การใช้โปรแกรมสำเร็จรูปสำหรับการบริหารงาน



4. การบริหารความขัดแย้ง



5. การวิเคราะห์งาน



6. การกำหนดวัตถุประสงค์การสอน



7. เทคนิคการสอนงาน



8. จิตวิทยาการสอน



9. เทคนิคการใช้สื่อประกอบการสอน



10. การประเมินการเรียนรู้



11. การวางแผนการสอนงาน



12. การติดตามผลการสอนงาน



13. การบริหารการเงิน



14. เทคนิคการจัดบัญชีเพื่อการจัดการ



15. หลักการจัดทำงบประมาณ



16. การเขียนรายงาน



17. หลักการวิเคราะห์สาเหตุของปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน



18. การตรวจสอบสภาพปัญหาที่เกิดขึ้นในการปฏิบัติงาน



19. การประเมินระดับความรุนแรงของปัญหา



20. การบริหารความเสี่ยง



21. วิธีการแก้ไขปัญหา



22. วิธีการป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต



23. การจัดการทรัพยากรมนุษย์



24. การกำหนดสมรรถนะในการปฏิบัติงาน



25. เทคนิคการให้คำปรึกษา



26. การจัดทำดัชนีชี้วัดในการปฏิบัติงาน



27. การจัดทำแผนการพัฒนาบุคลากรรายบุคคล(IDP)



28. การประเมินผลการปฏิบัติงาน



29. การประเมินการปฏิบัติงาน



30. การบริหารองค์กร



 



 


14. หลักฐานที่ต้องการ (Evidence Guide)

    หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)



(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)



   1. แผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม



   2. รายงานผลการประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง



   3. แผนการสอนงาน



   4. แผนการพัฒนาบุคลากรภายในหน่วยงาน



   5. รายงานผลการบริหารการเงินและบัญชี



   6. รายงานผลการบริหารทรัพยากรในหน่วยงานประจำปี



   7. รายงานผลการวิเคราะห์ แนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหาในการปฏิบัติงาน



   8. รายงานผลการประเมินการปฏิบัติงาน



(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)



   1. ใบผ่านการอบรมที่เกี่ยวกับการจัดการงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม



   2. แฟ้มสะสมผลงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม



   3. เอกสารการนำเสนองานหรือการบรรยายที่เกี่ยวข้องกับการจัดการงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม



(ค) คำแนะนำในการประเมิน



   ประเมินเกี่ยวกับการจัดการงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมเครื่องปั้นดินเผาแบบร่วมสมัย



(ง) วิธีการประเมิน



  1. พิจารณาหลักฐานความรู้



  2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน


15. ขอบเขต (Range Statement)

    ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง



(ก) คำแนะนำ



   1. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องวางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม



   2. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง



   3. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องสอนงานปฏิบัติงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม



   4. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องบริหารบุคลากรในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรม



   5. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องบริหารการเงินและบัญชี



   6. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องบริหารทรัพยากรในหน่วยงาน



   7. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องกำหนดแนวทางการแก้ไขและการป้องกันปัญหา



   8. ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องประเมินผลและควบคุมการปฏิบัติงาน



(ข) คำอธิบายรายละเอียด



  1. การวางแผนการผลิตงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมโดยวางแผนเกี่ยวกับกำลังคนการผลิต ความต้องการวัสดุที่ใช้ในการผลิต  และความต้องการกำลังการผลิต



  2. ประสานงานกับหน่วยงานภายในและภายนอก ได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพ



  3. สอนงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชา เกี่ยวกับงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ



  4. บริหารบุคลากรในงานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ



  5. บริหารการเงินและบัญชีที่เกี่ยวข้องกับการผลิตและการจำหน่ายสินค้าในงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมได้อย่างถูกต้อง



  6. บริหารทรัพยากรในงานอนุรักษ์งานพื้นบ้านและศิลปหัตถกรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ



  7. กำหนดแนวทางการแก้ไขและป้องกันปัญหาในการปฏิบัติงานได้อย่างเป็นระบบและมีประสิทธิภาพ



  8. ประเมินผลและการควบคุมการปฏิบัติงานได้อย่างถูกต้อง เที่ยงตรง และมีประสิทธิภาพ



 


16. หน่วยสมรรถนะร่วม (ถ้ามี)
N/A

17. อุตสาหกรรมร่วม/กลุ่มอาชีพร่วม (ถ้ามี)
N/A

18. รายละเอียดกระบวนการและวิธีการประเมิน (Assessment Description and Procedure)

1. เครื่องมือการประเมิน



  1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



  2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน



ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



2. เครื่องมือการประเมิน



 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



 2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน



 3. รายงานผลการปฏิบัติงาน



ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



3. เครื่องมือการประเมิน



 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



 2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน



ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



4. เครื่องมือการประเมิน 



 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



 2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน



ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



5. เครื่องมือการประเมิน



 1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



 2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน



 3. รายงานผลการปฏิบัติงาน



ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



6. เครื่องมือการประเมิน



  1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



  2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน



  3. รายงานผลการปฏิบัติงาน



ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



7. เครื่องมือการประเมิน



  1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



  2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน



  3. รายงานผลการปฏิบัติงาน



ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



8. เครื่องมือการประเมิน



  1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก



  2. แบบประเมินผลการปฏิบัติงาน



  3. รายงานผลการปฏิบัติงาน



ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน



 



ยินดีต้อนรับ