สาขาวิชาชีพอุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์ สาขางานแม่พิมพ์พลาสติก
MLD-DMT-2-027ZA
ผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องกัด
N/A
✔
อาชีพช่างผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์แม่พิมพ์ปั๊มโลหะ หรือ อาชีพช่างผลิตชิ้นส่วน อุปกรณ์แม่พิมพ์ฉีดพลาสติก
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีทักษะด้านการผลิตชิ้นส่วนด้วยเครื่องกัด โดยจะต้องคำนึงถึงความปลอดภัยในการทำงาน มีการกำหนดขั้นตอนการปฏิบัติงาน สามารถเลือกใช้เครื่องมือตัด การปรับตั้งค่าเงื่อนไขในการทำงาน การจับยึดชิ้นงาน ให้เหมาะสม รวมถึงสามารถตรวจสอบความถูกต้องของขนาดชิ้นส่วนดูแลรักษาและตรวจสอบเครื่องจักร เครื่องมือ และอุปกรณ์ได้อย่างถูกต้อง
2
อุตสาหกรรมการผลิตแม่พิมพ์
N/A
N/A
102C07.1 ความปลอดภัยในการทำงาน
1.1ปฏิบัติตามขั้นตอนความปลอดภัยในการทำงานและสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
1.2 ตรวจสอบระบบการทำงานของเครื่องมือและอุปกรณ์ก่อนและหลังปฏิบัติงาน
102C07.2 กำหนดขั้นตอนในการทำงานกัด
2.1ศึกษารายละเอียดจากแบบงาน
2.2กำหนดขั้นตอนและเลือกเครื่องมือตัดในการกัด
2.3การกำหนดเงื่อนไขในการทำงานที่เหมาะสม
102C07.3 การปฏิบัติงานกับเครื่องกัด
3.1 ตรวจสอบเครื่องกัดและอุปกรณ์
3.2 จับยึดชิ้นงานและเครื่องเครื่องมือตัด
3.3 ปรับตั้งค่าศูนย์ชิ้นงานและเครื่องมือตัด
3.4 การปฏิบัติงานกับเครื่องกัด
102C07.4 การตรวจสอบ
4.1ตรวจสอบความถูกต้อง ขนาดของชิ้นส่วน และแก้ไขให้ตรงตามข้อกำหนด
102C07.5 การบำรุงรักษาเครื่องกัดและอุปกรณ์
5.1 ตรวจสอบบำรุงรักษาเบื้องต้น
5.2 ดูแลทำความสะอาดเครื่องกัดและอุปกรณ์
5.3 ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องกัดและอุปกรณ์ทั้งก่อนและหลังปฏิบัติงาน
102C01 อ่านแบบชิ้นส่วนแม่พิมพ์
102C02 ใช้เครื่องมือพื้นฐาน
(Hand Tool) และอุปกรณ์
102C03 ใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคลเพื่อความปลอดภัยในการปฏิบัติงาน
102C04 ใช้เครื่องมือวัดละเอียด
102C05 เลือกใช้เครื่องมือตัด
(ก)
ความต้องการด้านทักษะ
1.
เลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2.
อ่านแบบชิ้นส่วนแม่พิมพ์
3.
ใช้เครื่องกัด เครื่องมือวัดและอุปกรณ์
4.
ปรับตั้งเงื่อนไขในการกัด
(ข)
ความต้องการด้านความรู้
1.
ความเข้าใจเกี่ยวกับอุปกรณ์ป้องกันภัยส่วนบุคคล
2.
กฏความปลอดภัยในการทำงาน
3.
เครื่องกัด เครื่องมือตัดและอุปกรณ์
4.
การคำนวณเพื่อตั้งเงื่อนไขในงานกัด
(ก)
หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance
Evidence)
1.
แบบบันทึกรายการจากการสังเกต
(ข)
หลักฐานความรู้ (Knowledge
Evidence)
1.
ใบบันทึกผลการสอบข้อเขียน
(ค)
คำแนะนำในการประเมิน
ผู้ประเมินตรวจประเมินความต้องการหลักฐาน
โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านปฏิบัติงาน
และหลักฐานด้านความรู้
วิธีการประเมิน
1.
พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน
2.
พิจารณาตามหลักฐานความรู้
การปฏิบัติด้วยเครื่องกัดแบบ Manual
(ก)
คำแนะนำ
1.
ผู้เข้ารับการประเมินต้องให้ความสำคัญเกี่ยวกับความปลอดภัยในการเข้าทำงานกับเครื่องกัด
2.
ผู้เข้าประเมินต้องเขียนรายงาน
หรืออธิบายขั้นตอนการทำงาน ในการผลิตชิ้นงานด้วยเครื่องกัด
3.
ผู้เข้ารับการประเมินเลือกใช้เครื่องมือตัดได้เหมาะสมกับชิ้นงาน
4.
ผู้เข้าประเมินจับยึดชิ้นงานด้วยปากกา
หรืออุปกรณ์จับยึดพิเศษ โดยพิจารณาด้านความปลอดภัย และความเสียหายต่อชิ้นส่วน
5.
ผู้เข้าประเมินต้องปรับตั้งค่าเครื่องมือตัด
6.
ผู้เข้าประเมินต้องควบคุมเครื่องกัดให้ผลิตชิ้นงานได้ตรงตามข้อกำหนดของแบบสั่งงาน
(ข)
คำอธิบายรายละเอียด
1.
ให้ความสำคัญกับความปลอดภัยต้องสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล
และตรวจสอบระบบการทำงานของเครื่องกัดก่อนปฏิบัติงานทุกครั้ง
โดยต้องบันทึกในแบบฟอร์มตรวจสอบ (ถ้ามี)
2.
ผลิตชิ้นงานด้วยเครื่องกัด
3.
เลือกใช้เครื่องมือตัดเหมาะสมกับวัสดุชิ้นงาน
4.
ยืนปฏิบัติงานหรือควบคุมเครื่องตลอดเวลา
ขณะที่เครื่องจักรทำงาน
5.
ตรวจสอบขนาดชื้นส่วนตามแบบสั่งงาน
6.
ใช้เครื่องมือวัด สำหรับตรวจสอบขนาด
N/A
N/A
18.1 เครื่องมือประเมิน ความปลอดภัยในการทำงาน 1)แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.2 เครื่องมือประเมิน กำหนดขั้นตอนในการทำงานกัด 1) แนวคำถามข้อสอบที่ใช้ในการประเมิน ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.3 เครื่องมือประเมิน การปฏิบัติงานกับเครื่องกัด 1)แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.4 เครื่องมือประเมิน การตรวจสอบ 1)แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน 18.5 เครื่องมือประเมิน การบำรุงรักษาเครื่องกัด 1)แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์ ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน