สาขาวิชาชีพธุรกิจสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ สาขาธุรกิจจัดส่งพัสดุ
PUM-SHP-2-004ZA
บำรุงรักษายานพาหนะสำหรับการจัดส่งเอกสารพัสดุและสินค้า
✔
ผู้ปฏิบัติงานขับรถส่งพัสดุและสิ่งของด่วน
ผู้ปฏิบัติการจัดส่งเอกสารและพัสดุด่วนระหว่างประเทศ
ผู้ปฏิบัติการจัดส่งพัสดุและสิ่งของด่วนภายในประเทศ
ผู้ปฏิบัติการบรรจุหีบห่อและขนย้ายสินค้า
ISCO 8321 พนักงานขับขี่รถจักรยานยนต์ส่งเอกสาร/สินค้า
ISCO 9329 คนงานด้านการขนส่งและสถานที่เก็บสินค้า
ISCO 9331 คนงานขับเคลื่อนยานพาหนะโดยใช้มือหรือเท้า
ISCO 9621 พนักงานรับส่งข่าวสาร หีบห่อสิ่งของและสัมภาระ
บุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมของยานพาหนะเพื่อการบำรุงรักษาโดยการตรวจสอบความพร้อมของยานพาหนะ การตรวจสอบความพร้อมเอกสารยานพาหนะ และการดำเนินการบำรุงรักษายานพาหนะสำหรับการจัดส่งเอกสารพัสดุและสินค้าและการกำหนดการวันเวลาการบำรุงรักษายานพาหนะ
1
กลุ่มวิชาชีพธุรกิจสาธารณูปโภคและบริการสาธารณะ สาขาธุรกิจจัดส่งพัสดุ
ไม่ระบุ
1.
พระราชบัญญัติจราจรทางบก
2.
ข้อกำหนดสำนักงานตำรวจแห่งชาติ เรื่อง สัญญาณจราจร
เครื่องหมายจราจรและความหมายของสัญญาณจราจรและเครื่องหมายจราจร
10104.01 เตรีัยมความพร้อมของยานพาหนะเพื่อการบำรุงรักษา
1.ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งถูกจัดเตรียมยานพาหนะเพื่อรอตรวจสอบความพร้อมตามขั้นตอนที่กำหนด
2. ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งถูกตรวจสอบความพร้อมในการใช้งานตามขั้นตอนที่กำหนด
10104.02 ดำเนินการบำรุงรักษายานพาหนะสำหรับการจัดส่งเอกสารพัสดุและสินค้า
1.คู่มือยานพาหนะได้ถูกกำหนดวันเวลาการบำรุงรักษายานพาหนะอย่างครบถ้วนตามระยะเวลาที่กำหนด
2.ยานพาหนะสำหรับการขนส่งได้รับการตรวจสอบวันเวลาการบำรุงรักษาตามคู่มืออย่างถูกต้องตามระยะเวลาที่กำหนด
3.ยานพาหนะได้รับการบำรุงรักษาอย่างถูกต้องตามระยะเวลาที่กำหนด
ไม่ระบุ
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
1.
ปฏิบัติการเตรียมความพร้อมของยานพาหนะเพื่อการบำรุงรักษา
2.
ปฏิบัติการดำเนินการบำรุงรักษายานพาหนะสำหรับการจัดส่งเอกสารพัสดุและสินค้า
(ข) ความต้องการด้านความรู้
1.
การจัดส่งเอกสารพัสดุและสินค้า
2.
คุณลักษณะของสินค้า
3.
การตรวจสอบยานพาหนะสำหรับขนส่ง
4.
การบำรุงรักษายานพาหนะ
5.
กฎระเบียบการจราจร
ลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance Criteria) และ ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and Knowledge)
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance
Evidence)
1.
เอกสารรับรองการปฏิบัติงานหรือผลการประเมินการปฏิบัติงานจากสถานประกอบการ
2.
เอกสารการประเมินการสาธิตการปฏิบัติงานจริงตามรายการประเมิน
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge
Evidence)
1.
เอกสารผ่านการอบรมเกี่ยวกับการบำรุงรักษายานพาหนะสำหรับการจัดส่งเอกสารพัสดุและสินค้าด่วน
2.
เอกสารรับรองการผ่านการสอบข้อเขียนหรือผลการทดสอบความรู้
(ค) คำแนะนำในการประเมิน
ประเมินเกี่ยวกับการบำรุงรักษายานพาหนะสำหรับการจัดส่งเอกสารพัสดุและสินค้าด่วนโดยพิจารณาจากหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
ทั้งหลักฐานการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้
(ง) วิธีการประเมิน
1.
พิจารณาหลักฐานความรู้
2.
พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่น ๆ หรือสถานการณ์อื่น ๆ ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(ก) คำแนะนำ
การบำรุงรักษายานพาหนะสำหรับการจัดส่งเอกสารพัสดุและสินค้าด่วน
ผู้เข้ารับการประเมินจะต้องแสดงเกี่ยวกับการดำเนินการตรวจสอบความพร้อมเอกสารยานพาหนะ
การตรวจสอบความพร้อมเอกสารยานพาหนะ การตรวจสอบวันเวลาการบำรุงรักษายานพาหนะ
(ข) คำอธิบายรายละเอียด
1.
การเตรียมความพร้อมของยานพาหนะเพื่อการบำรุงรักษา
จะต้องตรวจสอบความพร้อมของยานพาหนะ อาทิ ตรวจสอบลมยาง ระดับน้ำหม้อพัก
ไฟเลี้ยวทั้งด้านหน้าและหน้าหลัง ฯลฯ
และตรวจสอบเอกสารแนบประกอบการใช้ยานพาหนะที่ใช้ในการขนส่งตามขั้นตอนที่กำหนด
2.
เอกสารแนบประกอบการใช้ยานพาหนะ หมายถึง สมุดคู่มือการเช็คระยะรถ คู่มือการเช็คระยะ
หรือคู่มือยานพาหนะประจำรถ เป็นต้น
3.
การดำเนินการบำรุงรักษายานพาหนะสำหรับการจัดส่งเอกสารพัสดุและสินค้า
จะต้องดำเนินการตรวจสอบวันเวลาการบำรุงรักษายานพาหนะตามคู่มือยานพาหนะอย่างถูกต้องตามระยะเวลาที่กำหนด
4.
คำว่า “ถูกต้องตามขั้นตอนที่กำหนด” หมายถึง
ความถูกต้องตามขั้นตอนการปฏิบัติงานตามที่ระบุไว้ในแบบประเมินทักษะในการปฏิบัติงาน
5.
คำว่า “ถูกต้องตามระยะที่กำหนด” หมายถึง
ความถูกต้องตามระยะเวลาในการบำรุงรักษายานพาหนะตามที่ระบุไว้ในคู่มือยานพาหนะ
6.
องค์ประกอบของพระราชบัญญัติจราจรทางบก มี 6 อย่างดังนี้
1.
ตัวบทกฎหมาย ซึ่งจะกำหนด สิทธิ และ
หน้าที่ของผู้ใช้รถและใช้ถนนผู้ที่ต้องปฏิบัติตามกฎหมาย
2.
ผู้ปฏิบัติตามกฎหมาย ได้แก่ คนขับรถทุกชนิด (รวมถึงคนนั่งหรือซ้อนรถด้วย)
คนที่ต้องใช้ถนน (เดินเท้าข้ามถนน จูง ขี่ หรือไล่ต้อนสัตว์)
3.
ผู้บังคับให้เป็นไปตามกฎหมาย ได้แก่ เจ้าพนักงานจราจร พนักงานเจ้าหน้าที่
พนักงานสอบสวน ฯลฯ
4.
เครื่องมือในการใช้บังคับ ได้แก่ เครื่องหมายจราจร และสัญญาณจราจร ฯลฯ
5.
เครื่องมือในการจับกุม ได้แก่ เครื่องจับความเร็ว เครื่องตรวจแอลกอฮอล์เครื่องตรวจวัดควัน
เครื่องตรวจวัดเสียง เครื่องตรวจวัดฟิล์มกรองแสง ฯลฯ
6.
วิธีการบังคับหรือการลงโทษ ได้แก่ การว่ากล่าวตักเตือน การเปรียบเทียบปรับ
การลงโทษจำคุก การพักใช้ใบอนุญาตขับรถ การเพิกถอนใบอนุญาตขับรถ
ไม่ระบุ
ไม่ระบุ
18.1 เครื่องมือการประเมิน
1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2. แบบประเมินผลโดยวิธีการสาธิตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน
18.2 เครื่องมือการประเมิน
1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2. แบบประเมินผลโดยวิธีการสาธิตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน
18.3 เครื่องมือการประเมิน
1. แบบทดสอบปรนัย ชนิด 4 ตัวเลือก
2. แบบประเมินผลโดยวิธีการสาธิตการปฏิบัติงาน
ดูรายละเอียดจากคู่มือการประเมิน