สาขาวิชาชีพวิศวกรรมชีวการแพทย์ สาขาการผลิตเครื่องมือแพทย์
MET-MDM-8-016ZA
บริหารงานเพื่อสร้างนวัตกรรมเครื่องมือแพทย์
✔
อาชีพออกแบบเครื่องมือแพทย์
ผู้ที่ผ่านหน่วยสมรรถนะนี้จะมีภาวะผู้นำในการผลักดันและบริหารจัดการให้สถานประกอบการให้เป็นองค์กรแห่งemuนวัตกรรม/em โดยการพัฒนาบุคลากรและสิ่งแวดล้อมในการทำงานให้เอื้ออำนวยให้เกิดการสร้างemuนวัตกรรม/emทางการแพทย์
8
สาขาวิชาชีพวิศวกรรมชีวการแพทย์ สาขาการผลิตเครื่องมือแพทย์
ไม่ระบุ
ไม่ระบุ
101DD13.1 ภาวะผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง
1.1 สื่อสารเพื่อสร้างแรงบันดาลใจ
1.2 เข้าใจสภาพภายในองค์กร
1.3 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงภายนอกองค์กร
1.4 หาโอกาสในการพัฒนาองค์กร
101DD13.2 ปลูกฝังนวัตกรรมในองค์กร
2.1 ส่งเสริมให้บุคลากรให้มีกระบวนความคิดเชิงนักวิจัย
2.2 ส่งเสริมและพัฒนาความรู้บุคลากรพัฒนาการทำงานเป็นทีม
101DD13.3 สร้างบรรยากาศให้การทำงาน
3.1 จัดหาทรัพยากรเพื่อสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้เกิดความคิดสร้างสรรค์
3.2 จัดกิจกรรมวิพากษ์นวัตกรรมในเชิงสร้างสรรค์
อาชีพออกแบบเครื่องมือแพทย์ ระดับ 7
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
1. สามารถแสดงการถ่ายทอดความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะ
2. สามารถแสดงการวิเคราะห์องค์กร
3. สามารถนำการระดมสมอง
4. สามารถแสดงวิธีการทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างความคิดเชิงวิจัย
5. สามารถแสดงการสร้างทีมทำงาน และพัฒนาทีมทำงานให้มีประสิทธิภาพ
6. สามารถหาปัจจัยที่ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์ของบุคลากร
7. สามารถจัดหาทรัพยากรเพื่อสนับสนุนการเกิดความคิดสร้างสรรค์ของบุคลากร
8. สามารถนำการวิพากษ์ และแลกเปลี่ยนความคิดเพื่อสร้างemuนวัตกรรม /em
(ข) ความต้องการด้านความรู้
1. ความรู้เกี่ยวกับวิธีการสื่อสารและเลือกใช้วิธีการสื่อสาร
2. ความรู้เกี่ยวกับจุดมุ่งหมายของการสื่อสาร
3. ความรู้เกี่ยวกับการวินิจฉัยองค์กร
4. ความรู้เกี่ยวกับการใช้เครื่องมือ SWOT ในการหาโอกาสพัฒนาองค์กร
5. ความรู้เกี่ยวกับการระดมสมอง
6. ความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
7. ความรู้เกี่ยวกับแนวคิดการทำงานร่วมกันและประสานงานระหว่างกัน
8. ความรู้เกี่ยวกับสภาพแวดล้อมในการทำงาน
9. ความรู้เกี่ยวกับแนวปฏิบัติที่ดี และนวัตกรรม
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
1. เอกสารแสดงประวัติบริหารงานเพื่อสร้างนวัตกรรมเครื่องมือแพทย์หรือ
2. แฟ้มสะสมผลงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารงานเพื่อสร้างemuนวัตกรรมเครื่องมือแพทย์/em หรือ
(ข) หลักฐานความรู้ (Knowledge Evidence)
1. เอกสารรับรองการเรียนที่เกี่ยวข้องกับการวินิจฉัยองค์กร หรือ
2. เอกสารรับรองผลการอบรมเกี่ยวกับการวินิจฉัยองค์กร และ
3. เอกสารรับรองผลการเรียนที่เกี่ยวข้องกับการวางแผนพัฒนาองค์กร หรือ
4. เอกสารรับรองผลการอบรมเกี่ยวกับการวินิจฉัยองค์กร และ
5. เอกสารรับรองการเรียนที่เกี่ยวข้องกับทรัพยากรมนุษย์ หรือ
6. เอกสารรับรองผลการอบรมเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ และ
7. เอกสารรับรองการเรียนที่เกี่ยวข้องกับemuนวัตกรรม/em หรือ
8. เอกสารรับรองผลการอบรมเกี่ยวกับนวัตกรรม
(ค) คำแนะนำในการประเมิน
เจ้าหน้าที่สอบตรวจประเมินหลักฐานโดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้อง ทั้งหลักฐานด้านการปฏิบัติงานและหลักฐานด้านความรู้
(ง) วิธีการประเมิน
1. พิจารณาตามหลักฐานการปฏิบัติงาน โดยประเมินจาก ใบรับรองการทำงาน หรือแฟ้มสะสมผลงาน
2. พิจารณาตามหลักฐานความรู้ โดยประเมินจากข้อสอบข้อเขียน หรือการอบรม
(ก) คำแนะนำ
1. ผู้เข้ารับการประเมินควรมีประสบการในการบริหารงานองค์กร และมีความเข้าใจในการหาโอกาสพัฒนาองค์กรจาก emuช่องว่างในกระบวนการทำงาน/emของการพัฒนาเครื่องมือแพทย์
2. ผู้เข้ารับการประเมินควรมีความรู้เรื่องของ SWOT เพื่อหาโอกาสในการพัฒนา และมีความเข้าใจในการจัดกิจกรรมระดมสมอง หรือวิพากษ์เชิงสร้างสรรค์
(ข) คำอธิบายรายละเอียด
1. emuช่องว่างในกระบวนการทำงาน/em (Gap) หมายถึง ขั้นตอนการทำงานที่ขาดไปในห่วงโซ่คุณค่าของการพัฒนาผลิตภัณฑ์ ซึ่งทำให้ประสิทธิภาพในการทำงานหรือผลิตภัณฑ์น้อยลงหรือสูญเสียความโดดเด่น
2. emuนวัตกรรม/em หมายถึง ผลิตภัณฑ์ใหม่ กระบวนการทำงานใหม่ภายในองค์กร หรือการให้บริการรูปแบบใหม่แก่ลูกค้า ซึ่งทำให้คุณค่าของการส่งมอบสินค้าและบริการเพิ่มมากขึ้น หรือมีความโดดเด่นในตัวสินค้าและบริการ
3. emuเครื่องมือแพทย์/em หมายถึง เครื่องมือแพทย์ ตามนิยาม เครื่องมือแพทย์ ที่ระบุไว้ในพระราชบัญญัติเครื่องมือแพทย์ พ.ศ. 2562
ไม่ระบุ
ไม่ระบุ
1. เครื่องมือประเมินการภาวะผู้นำแห่งการเปลี่ยนแปลง
1. ประเมินโดยการสอบข้อเขียน
2. หลักฐานการผ่านอบรมเกี่ยวกับการบริหารงานองค์กร
3. แฟ้มสะสมผลงาน
2. เครื่องมือประเมินการปลูกฝังนวัตกรรมในองค์กร
1. ประเมินโดยการสอบข้อเขียน
2. หลักฐานการผ่านอบรมเกี่ยวกับการบริหารงานองค์กร
3. แฟ้มสะสมผลงาน
3. เครื่องมือประเมินการสร้างบรรยากาศให้การทำงาน
1. ประเมินโดยการสอบข้อเขียน
2. หลักฐานการผ่านอบรมเกี่ยวกับการบริหารงานองค์กร
3. แฟ้มสะสมผลงาน