สาขาวิชาชีพแมคคาทรอนิกส์
MCT-ZZZ-5-059ZA
ตัด
N/A
✔
อาชีพช่างแมคคาทรอนิกส์
ระดับ 3
หน่วยสมรรถนะนี้
เป็นหน่วยที่อธิบายถึงความรู้และทักษะที่จำเป็นของช่างแมคคาทรอนิกส์ในการดัดแปลงชิ้นส่วนทางกล
โดยการตัด ดัด ชิ้นงานที่มีลักษณะเพลากลมตัน แท่งเหลี่ยมตัน
ท่อและแผ่นของวัสดุทั้งโลหะและอโลหะ โดยใช้เครื่องจักรพื้นฐานในการดัดแปลง
อันได้แก่ เครื่องกลึง เครื่องกัด เครื่องเจาะ เครื่องเลื่อย
เครื่องพับและเครื่องดัด นอกจากนี้ยังรวมไปถึงความปลอดภัยในการดัดแปลงชิ้นส่วนทางกลในกระบวนการต่างๆ
ข้างต้นด้วย
3
สาขาวิชาชีพแมคคาทรอนิกส์
N/A
N/A
ME227 ดัด ท่อโลหะ ตามระบุในแบบ
7.1 เลือกชนิดและรูปร่างของพิมพ์ดัดให้เหมาะสมกับวัสดุและการดัดท่อมุมต่างๆ
7.2 ปรับแรงในการดัดให้เหมาะสมกับวัสดุและการดัดท่อมุมต่างๆ
7.3 ใช้เครื่องดัดในการดัดท่อโลหะได้อย่างถูกต้อง
7.4 ดูแลรักษาเครื่องดัดและอุปกรณ์เสริมให้พร้อมใช้งาน
ME228 ตัด ขึ้นรูป ชิ้นส่วนทางกลแบบด้วยความปลอดภัย
8.1 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องเลื่อย
8.2 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องเจาะ
8.3 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องกลึง
8.4 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องกัด
8.5 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องพับโลหะแผ่น
8.6 ความปลอดภัยในการใช้เครื่องดัดท่อโลหะ
ME225 กัดขึ้นรูปชิ้นงาน
5.1เลือกชนิดและรูปร่างของมีดกัดที่เหมาะสมกับวัสดุและการกัดแบบต่างๆเช่น การปาดหน้า การคว้าน การต๊าปเกลียว การเดินร่องสล็อตเป็นต้น
5.2ปรับความเร็วรอบของมีดกัดให้เหมาะสมกับวัสดุและการกัดแบบต่างๆ
5.3ใช้เครื่องกัดในการกัดชิ้นงานได้อย่างถูกต้อง
5.4ดูแลรักษาเครื่องกัดและอุปกรณ์เสริมให้พร้อมใช้งาน
ME226 พับ โลหะแผ่น ตามระบุในแบบ
6.1 เลือกชนิดและรูปร่างของพิมพ์พับให้เหมาะสมกับวัสดุและการพับแบบต่างๆเช่น การพับฉาก การพับมุม เป็นต้น
6.2 ปรับแรงในการพับให้เหมาะสมกับวัสดุและการพับแบบต่างๆ
6.3 ใช้เครื่องพับในการพับชิ้นงานได้อย่างถูกต้อง
6.4 ดูแลรักษาเครื่องพับและอุปกรณ์เสริมให้พร้อมใช้งาน
ME222 ปรับพื้นผิวสำหรับการประกอบและการวัด
2.1 เลือกใช้เครื่องมือในการลบคมชิ้นงานสำหรับการประกอบและการวัดได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถลบคมชิ้นงานสำหรับการประกอบและการวัดได้อย่างถูกต้อง
ME223 เจาะรูบนชิ้นงาน
3.1 เลือกชนิดและขนาดของดอกสว่านที่เหมาะสมกับวัสดุและรูประเภทต่างๆ
3.2 ปรับความเร็วรอบดอกสว่านและความเร็วในการเจาะให้เหมาะสมกับวัสดุและรูประเภทต่างๆ
3.3 ใช้เครื่องเจาะในการเจาะรูบนชิ้นงานได้อย่างถูกต้อง
3.4 ดูแลรักษาเครื่องเจาะและอุปกรณ์เสริมให้พร้อมใช้งาน
ME224 กลึงขึ้นรูปชิ้นงาน
4.1 เลือกชนิดและรูปร่างของมีดกลึงที่เหมาะสมกับวัสดุและการกลึงแบบต่างๆเช่น กลึงนอก กลึงใน กลึงปาด หน้า กลึงเกลียวใน กลึงเกลียวนอก เป็นต้น
4.2 ปรับความเร็วรอบของสปินเดิลให้เหมาะสมกับวัสดุและการกลึงแบบต่างๆ
4.3 ใช้เครื่องกลึงในการกลึงชิ้นงานได้อย่างถูกต้อง
4.4 ดูแลรักษาเครื่องกลึงและอุปกรณ์เสริมให้พร้อมใช้งาน
ME221 เลื่อย โลหะแผ่น แผ่นไม้ แผ่นพลาสติกเป็นรูปร่างตามระบุในแบบ
1.1เลือกชนิดของใบเลื่อยที่เหมาะสมกับวัสดุประเภทต่างๆ
1.2ปรับความเร็วรอบและความเร็วในการเลื่อยให้เหมาะสมกับวัสดุประเภทต่างๆ
1.3ใช้เครื่องเลื่อยในการเลื่อยเป็นรูปร่างได้อย่างถูกต้อง
1.4ดูแลรักษาเครื่องเลื่อยและอุปกรณ์เสริมให้พร้อมใช้งาน
-
การอ่านแบบสั่งงาน
-
ความเข้าใจความหมายของระบบพิกัดความคลาดเคลื่อนทางด้านขนาด
(Dimension) และรูปร่าง (GD&T) ของชิ้นงาน
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
-
ทักษะการเลื่อย
การเจาะ การกลึง การกัด การดัด การพับชิ้นงาน
(ข) ความต้องการด้านความรู้
-
ทฤษฎีการตัดเฉือนโลหะ
-
ทฤษฎีการขึ้นรูปโลหะแผ่น
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน
(Performance
Evidence)
-
บันทึกการปฏิบัติงาน
-
Portfolio
(ข) หลักฐานความรู้
(Knowledge Evidence)
-
ใบบันทึกการอบรม ความรู้เกี่ยวกับการใช้และความปลอดภัยในการใช้
เครื่องเลื่อย เครื่องเจาะ เครื่องกลึง เครื่องกัด
เครื่องพับโลหะและแผ่นเครื่องดัดท่อโลหะ
(ค) คำแนะนำในการประเมิน
หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงสมรรถนะในส่วนนี้
ต้องมีความสัมพันธ์และตอบโจทย์ตามข้อกำหนดของสมรรถนะย่อย และเกณฑ์การปฏิบัติงานในหน่วยสมรรถนะนี้
โดยต้องแสดงถึง
1. ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง
2. วิธีการปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน
และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
3. ขอบเขตด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
(ง) วิธีการประเมิน
ประเมินจากการการทดสอบ
หรือ สัมภาษณ์
ประเมินจากรายงานหรือใบรายงานการตรวจสอบ
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงาน ณ
สถานประกอบการในการปฏิบัติงานจริง หรือการสังเกตการจำลองการปฏิบัติงานจริง
เอกสารประกอบการพิจารณาที่เหมาะสม
รวมถึง วิธีการปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน กฎขอบังคับ มาตรการในการฝึกปฏิบัติ คู่มือในการปฏิบัติการ
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ
ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
(ก)
คำแนะนำ
ขอบเขต
(range statement) เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะในภาพรวม ซึ่งจะเป็นการระบุสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมของงานที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะนี้
ที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน มีลักษณะสำคัญใน 4 กลุ่ม กล่าวคือ
ขั้นตอน ระเบียบ หรือวิธีปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน (workplace procedures) สถานที่ทำงาน (work site) สภาวะในการทำงาน
(operating conditions) และข้อมูล/เอกสาร (information/documents)
(ข) คำอธิบายรายละเอียด
i) ขั้นตอน ระเบียบ หรือวิธีปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน
(workplace procedures)
-
อ่านแบบสั่งงาน
-
ทำการเลื่อย
โลหะแผ่น แผ่นไม้ แผ่นพลาสติกเป็นรูปร่างตามแบบสั่งงาน
-
ทำการปรับพื้นผิวสำหรับการประกอบและการวัด
-
ทำการเจาะรูบนชิ้นงาน
กลึงขึ้นรูปชิ้นงาน กัดขึ้นรูปชิ้นงาน
-
ทำการพับ
โลหะแผ่น ตามระบุในแบบ
-
ทำการดัด
ท่อโลหะ ตามระบุในแบบ
ii) สถานที่ทำงาน (work site)
-
ทำความสะอาด
บำรุงรักษาและจัดเก็บเครื่องมือวัดและอุปกรณ์เสริมต่างๆโดยคำนึงถึงระบบ 5 ส และความปลอดภัยในการทำงาน
iii) สภาวะในการทำงาน
(operating conditions)
-
อุปกรณ์
เครื่องมือ ที่ใช้ในตัด การขึ้นรูป ชิ้นส่วนทางกล ได้แก่ เลื่อยมือ สว่านมือ สว่านแท่น
เครื่องกลึง เครื่องกัด เครื่องพับโลหะแผ่น เครื่องดัดท่อ
iv) ข้อมูล/เอกสาร
(information/documents)
-
แบบสั่งงานในการผลิต
-
คู่มือการใช้งานเครื่องมือกล
N/A
N/A
18.1 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.2 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.3 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.4 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.5 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.6 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.7 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.8 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน