สาขาวิชาชีพแมคคาทรอนิกส์
MCT-ZZZ-4-060ZA
ประกอบและการเชื่อมชิ้นส่วนทางกล
N/A
✔
อาชีพช่างแมคคาทรอนิกส์
ระดับ 3
หน่วยสมรรถนะนี้
เป็นหน่วยที่อธิบายถึงความรู้และทักษะที่จำเป็นของช่างแมคคาทรอนิกส์ในการประกอบและการเชื่อมชิ้นส่วนทางกล
โดยจะประกอบด้วยความรู้และทักษะใน การประกอบงานด้วยสกรูและน๊อต ประกอบงานด้วยการยิงหมุดย้ำและประกอบชิ้นงานด้วยการเชื่อม
นอกจากนี้ยังรวมไปถึงความปลอดภัยในประกอบและการเชื่อมชิ้นส่วนทางกลแบบต่างๆ
ข้างต้นด้วย
3
สาขาวิชาชีพแมคคาทรอนิกส์
N/A
N/A
ME234 ประกอบและการเชื่อมชิ้นส่วนทางกลด้วยความปลอดภัย
ME232 ประกอบงานด้วยการยิงหมุดย้ำ
2.1 เลือกชนิดของหมุดย้ำและการเตรียมรูเจาะได้ถูกต้องตามที่ระบุในแบบสั่งงาน
2.2 ใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการประกอบงานด้วยหมุดย้ำ
2.3 สามารถประกอบชิ้นงานด้วยหมุดย้ำตามข้อกำหนดที่ระบุในแบบได้
2.4 สามารถตรวจสอบคุณภาพของการประกอบด้วยหมุดย้ำได้
ME233 ประกอบชิ้นงานด้วยการเชื่อม
3.1ความปลอดภัยในการประกอบงานด้วยสกรูและน๊อต
3.2ความปลอดภัยในการประกอบงานด้วยหมุดย้ำ
3.3 ความปลอดภัยในการประกอบชิ้นงานด้วยการเชื่อม
ME231 ประกอบงานด้วยสกรูและน๊อตตามระบุในแบบ
1.1เลือกชนิดของสกรูและน๊อตได้ถูกต้องตามที่ระบุในแบบสั่งงาน
1.2ใช้เครื่องมือที่เหมาะสมกับการประกอบงานด้วยสกรูและน๊อต
1.3ประกอบชิ้นงานด้วยสกรูและ น๊อตตามค่าแรงบิดที่ระบุในแบบสั่งงานได้อย่างถูกต้อง
1.4สามารถตรวจสอบคุณภาพของการประกอบ อันได้แก่ แรงบิดในการประกอบ ได้
-
การอ่านแบบสั่งงาน
-
ความเข้าใจความหมายของระบบพิกัดความคลาดเคลื่อนทางด้านขนาด
(Dimension) และรูปร่าง (GD&T) ของชิ้นงาน
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
-
ทักษะการประกอบงานด้วยสกรูและน๊อต หมุดย้ำและการเชื่อม
(ข) ความต้องการด้านความรู้
-
มาตรฐานระบบสกรูและน๊อต หมุดย้ำ
-
ทฤษฎีการเชื่อม
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน
(Performance
Evidence)
-
บันทึกการปฏิบัติงาน
-
Portfolio
(ข) หลักฐานความรู้
(Knowledge Evidence)
-
ใบบันทึกการอบรม ความรู้เกี่ยวกับการใช้และความปลอดภัยในการการประกอบงานด้วยสกรูและน๊อต
การประกอบงานด้วยหมุดย้ำและการประกอบชิ้นงานด้วยการเชื่อม
(ค) คำแนะนำในการประเมิน
หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงสมรรถนะในส่วนนี้
ต้องมีความสัมพันธ์และตอบโจทย์ตามข้อกำหนดของสมรรถนะย่อย และเกณฑ์การปฏิบัติงานในหน่วยสมรรถนะนี้
โดยต้องแสดงถึง
1. ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง
2. วิธีการปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน
และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
3. ขอบเขตด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
(ง) วิธีการประเมิน
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงาน ณ
สถานประกอบการในการปฏิบัติงานจริง หรือการสังเกตการจำลองการปฏิบัติงานจริง
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ
ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
(ก)
คำแนะนำ
ขอบเขต
(range statement) เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะในภาพรวม ซึ่งจะเป็นการระบุสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมของงานที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะนี้
ที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน มีลักษณะสำคัญใน 4 กลุ่ม กล่าวคือ
ขั้นตอน ระเบียบ หรือวิธีปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน (workplace procedures) สถานที่ทำงาน (work site) สภาวะในการทำงาน
(operating conditions) และข้อมูล/เอกสาร (information/documents)
(ข) คำอธิบายรายละเอียด
i) ขั้นตอน ระเบียบ หรือวิธีปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน
(workplace procedures)
-
อ่านแบบสั่งงาน
-
ทำการประกอบงานด้วยสกรูและน๊อตตามแบบสั่งงาน
-
ทำการประกอบงานด้วยหมุดย้ำตามแบบสั่งงาน
-
ทำการประกอบชิ้นงานด้วยการเชื่อมตามแบบสั่งงาน
ii) สถานที่ทำงาน (work site)
-
ทำความสะอาด
บำรุงรักษาและจัดเก็บเครื่องมือวัดและอุปกรณ์เสริมต่างๆโดยคำนึงถึงระบบ 5 ส และความปลอดภัยในการทำงาน
iii) สภาวะในการทำงาน
(operating conditions)
-
อุปกรณ์
เครื่องมือ ที่ใช้ในการประกอบและการเชื่อมชิ้นส่วนทางกล ได้แก่ ประแจประเภทต่างๆ เครื่องย้ำหมุดย้ำ
เครื่องเชื่อมไฟฟ้า (Electric Arc Welding)
เครื่องเชื่อม MIG (Metal Inert Gas) เครื่องเชื่อม TIG (Tungsten
Inert Gas)
iv) ข้อมูล/เอกสาร
(information/documents)
-
แบบสั่งงานในการผลิต
-
คู่มือการใช้งานเครื่องมือกล
-
คู่มือการใช้เครื่องเชื่อม
N/A
N/A
18.1 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.2 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.3 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน