สาขาวิชาชีพแมคคาทรอนิกส์
MCT-ZZZ-4-058ZA
อ่าน
N/A
✔
อาชีพช่างแมคคาทรอนิกส์
ระดับ 3
หน่วยสมรรถนะนี้
เป็นหน่วยที่อธิบายถึงความรู้และทักษะที่จำเป็นของช่างแมคคาทรอนิกส์ในการทำความเข้าใจในรายละเอียดของการผลิตจากแบบสั่งงานและการใช้เครื่องมือวัดทางด้านมิติในการวัดขนาดและรูปร่างของชิ้นงานเพื่อตรวจสอบและบันทึกผลการตรวจสอบในแบบฟอร์มที่กำหนดในระบบคุณภาพต่างๆ
เช่น QC Inspection Sheet หรือ Corrective
Action Request (CAR) เป็นต้น
3
สาขาวิชาชีพแมคคาทรอนิกส์
N/A
N/A
ME215 วัดคุณภาพเบื้องต้นของรอยเชื่อมตามที่ระบุในแบบสั่งงาน
ME214 วัดขนาดทางด้านรูปร่าง (GD&T) และเปรียบเทียบกับค่าพิกัดที่กำหนดในแบบสั่งงาน
4.1 บันทึกผลการวัดขนาดทางด้านรูปร่าง(GD&T) ลงในแบบฟอร์มที่กำหนด
4.2 ประเมินผลการวัดขนาดทางด้านรูปร่าง(GD&T) โดยเปรียบเทียบกับค่าพิกัดที่กำหนดในแบบสั่งงาน
ME213 วัดขนาดของชิ้นงานและเปรียบเทียบกับค่าพิกัดด้านขนาดที่กำหนดในแบบสั่งงาน
3.1 บันทึกผลการวัดขนาดของชิ้นงานลงในแบบฟอร์มที่กำหนด
3.2 ประเมินผลการวัดขนาดโดยเปรียบเทียบกับค่าพิกัดที่กำหนดในแบบสั่งงาน
ME212 เลือกและใช้เครื่องมือวัดและอุปกรณ์เสริมต่างๆในการวัดปริมาณทางมิติ
2.1 เลือกและใช้เครื่องมือในการวัดขนาดของชิ้นงาน
2.2 เลือกและใช้เครื่องมือในการวัดรูปร่างของชิ้นงาน
ME211 อ่านและเข้าใจความหมายของแบบสั่งงาน
1.1อ่านและเข้าใจความหมายของแบบสั่งงานผลิตแบบประกอบและสัญลักษณ์การเชื่อม
1.2เข้าใจความหมายของระบบพิกัดความคลาดเคลื่อนทางด้านขนาด (Dimension) และรูปร่าง (GD&T)ของชิ้นงาน
N/A
(ก) ความต้องการด้านทักษะ
-
เลือกใช้เครื่องมือวัดและอุปกรณ์เสริมต่างๆในการวัดด้านมิติและการวัดคุณภาพเบื้องต้นของรอยเชื่อม
-
ใช้เครื่องมือวัดและอุปกรณ์เสริมต่างๆในการวัดด้านมิติและการวัดคุณภาพเบื้องต้นของรอยเชื่อม
(ข) ความต้องการด้านความรู้
-
การอ่านแบบสั่งงาน
-
ความเข้าใจความหมายของระบบพิกัดความคลาดเคลื่อนทางด้านขนาด
(Dimension) และรูปร่าง (GD&T) ของชิ้นงาน
-
การตรวจสอบรอยเชื่อมด้วยการสังเกตุด้วยตาและเครื่องมือวัดด้านมิติ
(ก) หลักฐานการปฏิบัติงาน
(Performance
Evidence)
-
บันทึกการปฏิบัติงาน
-
Portfolio
(ข) หลักฐานความรู้
(Knowledge Evidence)
-
ใบบันทึกการอบรม ความรู้เกี่ยวกับการการอ่านแบบสั่งงานและความเข้าใจความหมายของระบบพิกัดความคลาดเคลื่อนทางด้านขนาด
(Dimension) และรูปร่าง (GD&T) ของชิ้นงาน
-
ใบบันทึกการอบรม การตรวจสอบรอยเชื่อมด้วยการสังเกตุด้วยตาและเครื่องมือวัดด้านมิติ
(ค) คำแนะนำในการประเมิน
หลักฐานที่ต้องการเพื่อแสดงถึงสมรรถนะในส่วนนี้
ต้องมีความสัมพันธ์และตอบโจทย์ตามข้อกำหนดของสมรรถนะย่อย และเกณฑ์การปฏิบัติงานในหน่วยสมรรถนะนี้
โดยต้องแสดงถึง
1. ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง
2. วิธีการปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน
และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
3. ขอบเขตด้านอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
(ง) วิธีการประเมิน
ประเมินจากการการทดสอบ
ประเมินจากรายงานหรือใบรายงานการตรวจสอบ
ประเมินจากการสังเกตการปฏิบัติงาน ณ
สถานประกอบการในการปฏิบัติงานจริง หรือการสังเกตการจำลองการปฏิบัติงานจริง
ขอบเขตอธิบายถึงขอบเขตของการปฏิบัติงาน และสภาพแวดล้อมอื่นๆหรือสถานการณ์อื่นๆ
ที่มีผลกระทบต่อการทำงาน รวมถึงเครื่องมือ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ทรัพยากรที่ใช้ หรือข้อกำหนดอื่นๆที่เกี่ยวข้อง
(ก)
คำแนะนำ
ขอบเขต
(range statement) เป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับหน่วยสมรรถนะในภาพรวม ซึ่งจะเป็นการระบุสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมของงานที่เกี่ยวข้องกับสมรรถนะนี้
ที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงาน มีลักษณะสำคัญใน 4 กลุ่ม กล่าวคือ
ขั้นตอน ระเบียบ หรือวิธีปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน (workplace procedures) สถานที่ทำงาน (work site) สภาวะในการทำงาน
(operating conditions) และข้อมูล/เอกสาร (information/documents)
(ข) คำอธิบายรายละเอียด
i) ขั้นตอน ระเบียบ หรือวิธีปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน
(workplace procedures)
-
อ่านแบบสั่งงาน
-
ใช้เครื่องมือวัดและอุปกรณ์เสริมต่างๆในการวัดปริมาณทางมิติ
-
วัดขนาดของชิ้นงานและเปรียบเทียบกับค่าพิกัดด้านขนาดกับแบบสั่งงาน
-
วัดขนาดทางด้านรูปร่าง
(GD&T) และเปรียบเทียบกับค่าพิกัดที่กำหนดกับแบบสั่งงาน
ii) สถานที่ทำงาน (work site)
-
ทำความสะอาด
บำรุงรักษาและจัดเก็บเครื่องมือวัดและอุปกรณ์เสริมต่างๆโดยคำนึงถึงระบบ 5 ส และความปลอดภัยในการทำงาน
iii) สภาวะในการทำงาน
(operating conditions)
-
อุปกรณ์
เครื่องมือ ที่ใช้ในการตรวจสอบชิ้นส่วนทางกลที่กำหนดตามมาตรฐานการผลิต ได้แก่ ไมโครมิเตอร์
เวอร์เนียร์คาลิปเปอร์ ไดอัลเกจ ไม้บรรทัด แท่งขนาน
iv) ข้อมูล/เอกสาร
(information/documents)
-
แบบสั่งงานในการผลิต
-
QC Data Inspection Sheet
N/A
N/A
18.1 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.2 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.3 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน
18.4 เครื่องมือประเมิน
1) แบบทดสอบปรนัย
ชนิด 4
ตัวเลือก หรือ ถูกผิด หรือ เติมคำ หรือ
2) แบบฟอร์มประเมินผลการสังเกตการณ์
หรือ
3) แบบฟอร์มแนวคำถามที่ใช้ในการสัมภาษณ์และแบบฟอร์มบันทึกผลการสัมภาษณ์
ดูรายละเอียดจากคู่มือประเมิน