สาขาวิชาชีพการผลิตอาหารและเครื่องดื่ม สาขาการแปรรูปนม
FPC-MPD-3-007ZA
จัดเก็บน้ำนมหลังการฆ่าเชื้อในการผลิตผลิตภัณฑ์นมแปรรูป
N/A
✔
6121
Livestock and Dairy Producers อ้างอิง ISCO - 08
บุคคลที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการดำเนินการผลิตด้านการจัดเก็บน้ำนมหลังการฆ่าเชื้อ
โดยจะต้องสามารถปฏิบัติงานในส่วนของการเตรียมความพร้อมของภาชนะ อุปกรณ์
การเก็บรักษาน้ำนมหลังการฆ่าเชื้อ
เพื่อใช้สำหรับดำเนินการผลิตผลิตภัณฑ์นมแปรรูปต่อไป
3
ธุรกิจแปรรูปผลิตภัณฑ์นม
N/A
1.
กฎหมายอาหารที่ราชการกำหนด เช่น ประกาศกระทรวงสาธารณสุข
2. มาตรฐานสากลต่าง ๆ เช่น มาตรฐาน The Codex Alimentarius Commission
และกฎหมายอื่น
ๆ ที่เกี่ยวข้อง
A2051 จัดเก็บน้ำนมที่ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์นมแปรรูปในระบบพาสเจอร์ไรส์ให้ได้ตามมาตรฐาน
1.1ตรวจสอบความพร้อมสภาพแวดล้อมและสภาวะการจัดเก็บน้ำนมระบบพาสเจอร์ไรส์ในการผลิตผลิตภัณฑ์นมแปรรูป
1.2ตรวจสอบสุขลักษณะของสภาพแวดล้อมการจัดเก็บน้ำนมระบบพาสเจอร์ไรส์ในการผลิตผลิตภัณฑ์นมแปรรูป
A2052 จัดเก็บน้ำนมที่ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์นมแปรรูปในระบบ UHT ให้ได้ตามมาตรฐาน
2.1ตรวจสอบความพร้อมสภาพแวดล้อม และสภาวะการจัดเก็บของน้ำนมระบบ UHTในการผลิตผลิตภัณฑ์นมแปรรูป
2.2ตรวจสอบสุขลักษณะของสภาพแวดล้อมการจัดเก็บน้ำนมระบบ UHT ในการผลิตผลิตภัณฑ์นมแปรรูป
A2053 จัดเก็บน้ำนมที่ใช้ในการผลิตผลิตภัณฑ์นมแปรรูปในระบบสเตอริไรส์ให้ได้ตามมาตรฐาน
3.1ตรวจสอบความพร้อมสภาพแวดล้อมและสภาวะการจัดเก็บน้ำนมระบบพาสเจอร์ไรส์ในการผลิตผลิตภัณฑ์นมแปรรูป
3.2ตรวจสอบสุขลักษณะของสภาพแวดล้อมการจัดเก็บน้ำนมระบบสเตอริไรส์ในการผลิตผลิตภัณฑ์นมแปรรูป
N/A
(ก)
ความต้องการด้านทักษะ
1. ทักษะด้านในใช้ภาชนะ อุปกรณ์ เก็บรักษาน้ำนมหลังการฆ่าเชื้อ
2.
ทักษะด้านการรักษาน้ำนมหลังการฆ่าเชื้อ
3. ทักษะด้านการคำนวณและความเชื่อมโยง
4.
ทักษะด้านสถิติที่เกี่ยวข้อง
5.
ทักษะด้านการติดต่อสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
6.
ทักษะด้านคอมพิวเตอร์
7.
ทักษะด้านการทำความสะอาด
8.
ทักษะด้านการบำรุงรักษาอุปกรณ์จัดเก็บน้ำนม
9.
ทักษะด้านการจัดทำรายงาน
(ข) ความต้องการด้านความรู้
1.
ความรู้และความเข้าใจด้านสภาวะการจัดเก็บน้ำนมหลังการฆ่าเชื้อ
2. ความรู้และความเข้าใจด้านกระบวนการจัดเก็บ รักษาน้ำนมหลังการฆ่าเชื้อ 3.
ความรู้และความเข้าใจด้านสุขลักษณะของสภาพแวดล้อมการจัดเก็บน้ำนมหลังการฆ่าเชื้อ 4.
ความรู้ด้านกระบวนการรับน้ำนมดิบ ด้านคุณภาพ และเกณฑ์มาตรฐานของน้ำนมดิบ
ความรู้และความเข้าใจในระบบคุณภาพเกณฑ์มาตรฐาน (ISO, GMP, HACCP ฯลฯ)
5.
ความรู้ด้านสูตรการผลิต ขั้นตอนการผลิต
6.
ความรู้ด้านกระบวนการผลิต และการควบคุมคุณภาพ
7.
ความรู้ด้านกฎและข้อบังคับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับองค์กร
หลักฐานที่ต้องการจะกำหนดข้อแนะนำเกี่ยวกับการประเมิน
และควรที่จะใช้ประกอบร่วมกันกับเกณฑ์การปฏิบัติงาน (Performance
Criteria) ทักษะและความรู้ที่ต้องการ (Required Skills and
Knowledge)
(ก)
หลักฐานการปฏิบัติงาน (Performance Evidence)
ใบรายงาน หรือแบบฟอร์มบันทึกรายการจากการสังเกตการปฏิบัติงาน
(ข)
หลักฐานความรู้ (Knowledge
Evidence)
ผลการตอบปากเปล่าจากการสัมภาษณ์
และหรือผลการสอบข้อเขียนจากแบบทดสอบความรู้ หลักฐานจากใบรับรอง (certificate)
ใบผ่านการอบรม แฟ้มสะสมงาน (portfolio) ใบผ่านงาน
และประกาศนียบัตร วุฒิบัตร และอื่น ๆ ตามที่ภาคอุตสาหกรรมนมหรืออุตสาหกรรมอื่น ๆ
ที่เกี่ยวข้องยอมรับ
(ค)
คำแนะนำในการประเมิน
ผู้ประเมินตรวจการประเมินเกี่ยวกับหลักฐานที่ต้องการ
โดยพิจารณาจากร่องรอยหลักฐานที่เกี่ยวข้องทั้งหลักฐานการปฏิบัติงาน และหลักฐานความรู้
เพื่อแสดงถึงสมรรถนะที่มีความสัมพันธ์ และตอบโจทย์ตามข้อกำหนดของสมรรถนะย่อย
และเกณฑ์การปฏิบัติงานในหน่วยสมรรถนะนี้ โดยหลักฐานในที่นี้ต้องแสดงถึง
1.
ความรู้และทักษะที่เกี่ยวข้อง
2.
วิธีการปฏิบัติงานในสถานที่ทำงาน และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
3.
ขอบเขตด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง
(ง)
วิธีการประเมิน
1.
พิจารณาหลักฐานความรู้
2. พิจารณาหลักฐานการปฏิบัติงาน
(ก)
คำแนะนำ
N/A
(ข)
คำอธิบายรายละเอียด
1.
การจัดเก็บน้ำนมพาสเจอร์ไรส์ UHT และ
สเตอริไรส์ คือ การตรวจสอบความพร้อม และสุขลักษณะของสภาพแวดล้อม
และสภาวะการจัดเก็บของน้ำนมพาสเจอร์ไรส์ UHT และ สเตอริไรส์
ให้ได้มาตรฐานตามที่กำหนดไว้
N/A
N/A
18.1 การสัมภาษณ์
18.2 การทดสอบโดยข้อสอบ ภาคทฤษฎี
18.3
การสังเกตการปฏิบัติงานในสภาพจริง หรือสภาวะจำลอง หรือผลงาน
(ภาคปฏิบัติ)